Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9828
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมชาย จิตะพันธ์กุล-
dc.contributor.authorกฤตธี วุฒิพรพงษ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-07T10:46:34Z-
dc.date.available2009-08-07T10:46:34Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741750609-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9828-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractเอ็มซี-ซีดีเอ็มเอเป็นเทคนิคที่เหมาะในการส่งสัญญาณในช่องสัญญาณเฟดดิงสำหรับการสื่อสารไร้สายที่มีอัตราข้อมูลสูง อย่างไรก็ตามเทคนิคนี้ต้องใช้วงจรขยายที่มีคุณภาพสูงในการขยายสัญญาณที่มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านแอมพลิจูดสูงมากทางด้านเครื่องส่ง ลำดับส่งย่อยเป็นหนึ่งในวิธีที่ดีที่สุดในการลดอัตราส่วนกำลังค่ายอดต่อกำลังเฉลี่ย ในวิทยานิพนธ์นี้จะเสนอแบบแผนลำดับส่งย่อยดัดแปลงสำหรับการสื่อสารบนข่ายเชื่อมโยงขาขึ้น ซึ่งตรงข้ามกับเทคนิคลำดับส่งย่อยดั้งเดิมที่ใช้บนข่ายเชื่อมโยงขาลงในระบบมัลติเพล็กซ์แบบแบ่งความถี่เชิงตั้งฉาก เมื่อใช้เทคนิคลำดับส่งย่อยนี้บนข่ายเชื่องโยงขาขึ้นในระบบเอ็มซี-ซีดีเอ็มเอจะพบว่า แบบแผนนี้ลดอัตราส่วนกำลังค่ายอดต่อกำลังเฉลี่ยได้เป็นอย่างดี แต่อย่างไรก็ตามแบบแผนลำดับส่งย่อยก็ไปเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติความสหสัมพันธ์ของรหัสไปด้วยซึ่งส่งผลต่ออัตราความผิดพลาดบิต ดังนั้นจึงเสนอเครื่องรับสำหรับผู้ใช้หลายรายแบบดัดแปลงซึ่งมีแนวโน้มว่าจะจัดการกับปัญหานี้ได้ดีมาพร้อมกัน เครื่องรับเหล่านี้ได้แก่ ดี-คอร์รีเลเตอร์ เครื่องรับชนิดที่ทำให้ความผิดพลาดกำลังสองเฉลี่ยต่ำสุด และเครื่องรับแบบหักล้างการรบกวนอย่างขนาน ผลการจำลองระบบเอ็มซี-ซีดีเอ็มเอที่ใช้เทคนิคลำดับส่งย่อยในการลดอัตราส่วนกำลังค่ายอดต่อกำลังเฉลี่ยและใช้เครื่องรับที่ได้รับการดัดแปลงให้เหมาะกับเทคนิคนี้ เปรียบเทียบกับระบบที่ไม่ได้ใช้เทคนิค PTS ในสภาวะที่มีผลจากความไม่เป็นเชิงเส้นและการอิ่มตัวของวงจรขยายกำลัง พบว่าระบบที่เสนอสามารถปรับปรุงสมรรถนะของระบบได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อใช้เครื่องรับชนิดที่ทำให้ความผิดพลาดกำลังสองเฉลี่ยต่ำที่สุดen
dc.description.abstractalternativeMC-CDMA is an attractive technique for achieving transmission in fading channels in high data rate mobile communications. However, it requires a high quality amplifier to cope with large amplitude fluctuation at transmitter side. Partial Transmit Sequences (PTS) is one of the best methods in reducing Peak to Average Power Ratio (PAPR). In this thesis, a modified PTS scheme for uplink communications is proposed, in contrast to the original PTS, which is generally applied in downlink in OFDM system. While successfully reducing PAPR, PTS alters code correlation property which affects bit error rate, when applied to the MC-CDMA system in uplink. Therefore, modified multiuser receivers that tend to cope well with this problem are as well proposed. These are decorrelator, minimum mean square errer (MMSE) receiver and parallel interference cancellation (PIC). The results of MC-CDMA system with PTS applied to reduce PAPR and with modified receivers tailored to PTS scheme, compared with MC-CDMA system without PTS applied, under condition of power amplifier with nonlinerity and saturation, show that the proposed system can improve performance significantly, especially when MMSE receiver is employed.en
dc.format.extent2521383 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเข้าถึงแบบหลายทางด้วยการแบ่งรหัสชนิดหลายความถี่en
dc.subjectทฤษฎีการคอยลำดับen
dc.subjectระบบสื่อสารไร้สายen
dc.titleการลดอัตราส่วนกำลังค่ายอดต่อกำลังเฉลี่ยในเอ็มซี-ซีดีเอ็มเอโดยใช้ลำดับส่งย่อยen
dc.title.alternativePeak to average power ratio reduction in MC-CDMA using partial transmit sequencesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSomchai.J@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Krittee.pdf2.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.