Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9839
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุปรีชา หิรัญโร-
dc.contributor.authorยุวดี ศิริ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2009-08-08T08:03:59Z-
dc.date.available2009-08-08T08:03:59Z-
dc.date.issued2540-
dc.identifier.isbn9746390627-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9839-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (คพ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540en
dc.description.abstractศึกษาแนวความคิด และรูปแบบที่เหมาะสม ในการจัดตั้งองค์กรบริหารชุมชน สำหรับโครงการบ้านจัดสรร ในอันที่จะก่อประโยชน์ ให้การจัดการดูแลระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ ภายในชุมชนโครงการบ้านจัดสรร มีความเป็นระเบียบเรียบร้อยภายใต้เงื่อนไขที่กฎหมายกำหนด ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาประการหนึ่งของการขาดการดูแล และบำรุงรักษา ระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการ ภายในโครงการบ้านจัดสรรภายหลังที่ผู้ประกอบการ ได้มีการดำเนินโครงการแล้วเสร็จนั้น ส่วนหนึ่ง เป็นเพราะข้อจำกัดของประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 286 ที่ไม่เปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการมีทางเลือกมากนัก ในเรื่องการจัดการดูแลสาธารณูปโภคเหล่านี้ และถึงแม้ว่ากรมที่ดิน จะมีแนวความคิดเกี่ยวกับเรื่อง การจัดตั้งองค์กรบริหารชุมชน ในรูปแบบของการมีนิติบุคคลโครงการบ้านจัดสรร โดยได้มีการบัญญัติไว้เป็นมาตราหนึ่ง ในร่างพระราชบัญญัติการจัดสรรที่ดินฉบับใหม่ แต่จนถึงขณะนี้แนวความคิดดังกล่าวก็ยังไม่มีผลบังคับใช้ในทางกฎหมาย เพื่อเป็นการแก้ปัญหาดังกล่าวข้างต้น วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ จึงมุ่งเน้นที่จะศึกษา แนวทางการจัดการและดูแลชุมชนโครงการบ้านจัดสรรในสองประเด็น คือ ประเด็นที่หนึ่งศึกษารูปแบบและความต้องการของผู้อยู่อาศัย ในโครงการบ้านจัดสรร ต่อการมีองค์กรบริหารชุมชน และประเด็นที่สอง ศึกษาแนวทางที่เหมาะสม สำหรับความต้องการดังกล่าว จากการศึกษาพบว่าผู้อยู่อาศัยในชุมชนโครงการบ้านจัดสรรส่วนใหญ่ มีความต้องการที่จะให้มีองค์กรบริหารชุมชนในหมู่บ้าน ที่ตนเองอาศัยอยู่ในรูปแบบของคณะกรรมการหมู่บ้าน และพบว่าแนวทางที่เป็นไปได้ในขณะนี้คือ การนำเอาหลักการของการจัดตั้ง "สหกรณ์บริการชุมชน" อันเป็นวิธีการบริหารงานสหกรณ์รูปแบบหนึ่งภายใต้พระราชบัญญัติสหกรณ์ พ.ศ. 2511 เข้ามาใช้ในการจัดการดูแลชุมชนหมู่บ้านจัดสรร ซึ่งในปัจจุบันพบว่ามีโครงการหมู่บ้านจัดสรรหลายแห่ง ที่นำเอาแนวคิดดังกล่าวไปดำเนินการ และประสบความสำเร็จในระดับหนึ่ง การจัดตั้งสหกรณ์บริการชุมชน จึงน่าจะเป็นอีกแนวทางเลือกหนึ่งที่ทำให้การจัดการดูแล ชุมชนโครงการบ้านจัดสรรเกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย ภายใต้รูปแบบที่มีการบริหารงานโดย คณะกรรมการหมู่บ้านที่คัดเลือกขึ้นจากผู้อยู่อาศัยภายในโครงการ ในขณะที่ยังไม่มีกฎหมายเฉพาะเข้ามาใช้กำกับดูแลในเรื่องดังกล่าวen
dc.description.abstractalternativeTo study a proper alternative in establishing a community organization and management body for housing estates which will effectively manage infrastructure and public utilities in according to the housing development law. The research's conclusion explored that major problems of housing estates from low-end to high-end were the lack of intensive management for community infrastructure and public utilities after they were completed and transferred to end users. This was because the limitation of existing regulation, the Ministerial Decree 286, which does not mention the way property developers should manage their completed communities' infrastructure and public utilities. Although the Land Department has purposed to amend the existing regulation about the housing development by including the concept of juridical entity for years, the proposal is not materialized yet. To solve these problems, the study suggested that should-be alternatives would base on the residents' demand on effective management system for infrastructure and public utilities. After realizing the demand, a proper management must be adopted. According to the study, the majority of residents preferred the establishment of management body which would work similarly to "community service cooperative", a legal body set up in line with the Cooperative Code 1968. The study found that some housing estates have already implemented the concept of community service cooperatives and succeeded with this so-called management. So, the management concept of community service cooperative should be a good alternative during the absence of new housing development law.en
dc.format.extent805325 bytes-
dc.format.extent914785 bytes-
dc.format.extent1335998 bytes-
dc.format.extent830925 bytes-
dc.format.extent3878668 bytes-
dc.format.extent939989 bytes-
dc.format.extent917214 bytes-
dc.format.extent747109 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectองค์กรชุมชนen
dc.subjectบ้านจัดสรรen
dc.titleแนวทางการจัดตั้งองค์กรบริหารชุมชนสำหรับโครงการบ้านจัดสรรen
dc.title.alternativeCommunity organization and management proposal for housing projecten
dc.typeThesises
dc.degree.nameเคหพัฒนศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเคหการes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSupreecha.H@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Yuwadee_Si_front.pdf786.45 kBAdobe PDFView/Open
Yuwadee_Si_ch1.pdf893.34 kBAdobe PDFView/Open
Yuwadee_Si_ch2.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open
Yuwadee_Si_ch3.pdf811.45 kBAdobe PDFView/Open
Yuwadee_Si_ch4.pdf3.79 MBAdobe PDFView/Open
Yuwadee_Si_ch5.pdf917.96 kBAdobe PDFView/Open
Yuwadee_Si_ch6.pdf895.72 kBAdobe PDFView/Open
Yuwadee_Si_back.pdf729.6 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.