Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9867
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนทร บุญญาธิการ-
dc.contributor.authorกุลศรี สุริยเดชสกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-10T07:34:06Z-
dc.date.available2009-08-10T07:34:06Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743347585-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9867-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สถ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractในอดีตที่ผ่านมาการนำแสงธรรมชาติมาใช้ในอาคารพิพิธภัณฑ์แสดงภาพเขียนมีปัญหาเรื่องการควบคุมความแปรปรวนของแสง ปริมาณแสงและการเกิดแสงแยงตาในกรณีที่ผู้เข้าชมอยู่ในตำแหน่งที่ไม่เหมาะสมหรือมีการออกแบบช่องเปิดที่ไม่ถูกต้อง การศึกษาครั้งนี้จึงนำเสนอแนวทางการนำแสงธรรมชาติมาใช้ในแต่ละทิศ โดยทำการศึกษาตัวแปรที่มีอิทธิพลได้แก่มุมมอง จุดชมภาพ และมุมแสงที่เหมาะสมที่ไม่ทำให้เกิดแสงแยงตา การศึกษาครั้งนี้อาศัยการทดสอบด้วยหุ่นลองภายใต้สภาพท้องฟ้าจริง ในช่วงเวลา 8.00-16.00 น. โดยมีการกำหนดการทดลองดังนี้คือ 1) ใช้เฉพาะแสงกระจายจากท้องฟ้า 2) ใช้ช่องเปิดด้านข้าง 2 จุดที่ตำแหน่งบนและล่างของผนังที่จัดแสดงภาพ 3) ใช้ตัวสะท้อนแสงภายในเป็นวัสดุพื้นผิวหยาบ และ 4) ใช้อุปกรณ์บังแดด แล้วนำข้อมูลที่ได้จากการทดลองมาเปรียบเทียบที่ค่าความส่องสว่างเฉลี่ยในแนวตั้งและแนวนอนที่ 20 และ 10 ฟุตแคนเดิล ตามลำดับ โดยพิจารณาจากค่าความส่องสว่างภายนอกอาคารที่ 1,500 ฟุตแคนเดิล และนำเสนอในรูปของแผนภูมิ ผลการทดลองสามารถแบ่งรูปแบบกรณีศึกษาได้เป็น 3 กลุ่มตามอิทธิพลการโคจรของดวงอาทิตย์ คือ กลุ่มที่ 1 ทิศเหนือ ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ และทิศตะวันตกเฉียง ซึ่งเป็นกลุ่มที่ไม่ได้รับอิทธิพลของแสงโดยตรงจากดวงอาทิตย์จึงต้องมีขอบสะท้อนแสงที่ภายนอก กลุ่มที่ 2 ทิศใต้ ได้รับอิทธิพลตลอดทั้งวัน และกลุ่มที่ 3 ทิศตะวันออก ทิศตะวันตก ทิศตะวันออกเฉียงใต้และทิศตะวันตกเฉียงใต้ เป็นเทศที่ได้รับอิทธิพลในช่วงเช้าและบ่ายต่างกัน ในกลุ่มที่ 3 นี้ปริมาณความส่องสว่างภายในมีค่าความแปรปรวนของค่าสัดส่วนแสงภายในแนวตั้งต่อแสงภายนอกสูงโดยคิดเป็น 1 เปอร์เซ็นต์ จึงไม่มีขอบสะท้อนแสงที่ภายนอก จากการได้รับอิทธิพลของท้องฟ้าภายนอกที่ต่างกันของแต่ละทิศทำให้ช่องเปิดทั้ง 3 กลุ่ม มีตำแหน่งความสูงช่องเปิดต่างกัน และมีขนาดของช่องเปิดต่างกันประมาณ 8 ถึง 25 เปอร์เซ็นต์ของขนาดภาพจัดแสดง ผลการทดลองทั้งหมดนี้พบว่ารูปแบบที่ได้สำหรับแต่ละทิศ สามารถควบคุมความแปรปรวน ความสม่ำเสมอของทั้ง 8 ทิศ และการเกิดแสงแยงตาได้ดี ผลสรุปจากการทดลองพบว่า การโคจรของดวงอาทิตย์มีอิทธิพลต่อระดับความส่องสว่างและความแปรปรวนของแสงภายในอาคาร ดังนั้นรูปแบบการนำแสงธรรมชาติเข้ามาใช้ในแต่ละทิศจึงมีลักษณะที่แตกต่างกัน ในการประยุกต์ใช้ผู้ออกแบบสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบให้มีความสอดคล้องกันโดยใช้ค่าการส่องผ่านของกระจกและค่าการสะท้อนแสงของตัวสะท้อนภายใน เพื่อควบคุมปริมาณความส่องสว่างภายใน รูปแบบจากการศึกษานี้ถือเป็นแนวทางในการออกแบบพิพิธภัณฑ์แสดงภาพเขียนที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการออกแบบในอาคารจริงได้en
dc.description.abstractalternativeIn the past, considering the daylighting techniques for art museums, there were so many problems about the illumination variation control, the amount of light and the glare to eyes. This study, therefore, proposes on designing the alternatives in the daylight utilization for the art museum in 8 directions. The focused variables including viewing angle, viewing position and appropriate angle of the incident light. In this study, the physical model were constructed and examined under the natural sky with interval since 8.00 am-4.00 pm. The dependence variable of this experiment consisted of, firstly, only the indirect daylight was take in to consideration. Seconday, side lighting were located at the top and the bottom of the exhibition wall. Thirdly, the interior diffuse surface was brought to test. Finally, the forth shading devices was assessing to detect direct sunlight the measured results are analyzed based on the illuminance standard of 20 and 10 foot-candle for the horizontal and vertical respectively. The results are then compared as the daylight factor determined at the outside illumination of 1,500 foot-candle. From the result, case studies can be categorized into 3 groups. By considering the sun orbit influence. They are, group 1 (N, NE, NW) has the outside edging since it is not much effected by that of influenc. Group 2 (S) is the effected direction all day, since the outside edging reflector is not required. And group 3 (E, W, SE and SW) the outside edging reflector is needed because of the different effects occurring in the morning and afternoon. This difference causes the illumination variation of a day to be as high as 1 percent of the vertical daylight factor. By the sun orbit influence, thus, the least profile angle, the apertures of these 3 groups have different sizes varying from 8 to 25 percent of exhibited paintings. The result show that the pattern obtained for each direction can control the illumination variation, light uniformity, and glare effectively. The sun orbit has high influence on the illumination and its variation inside the buildings. To apply the results, the designers can adapt the pattern and illumination by adjusting the light transmittance of glass and reflectance of internal reflector. This study could be later employed as a good pattern for the art museum in the hot-humid climate.en
dc.format.extent1782756 bytes-
dc.format.extent1159277 bytes-
dc.format.extent3301230 bytes-
dc.format.extent1908044 bytes-
dc.format.extent5829238 bytes-
dc.format.extent1719135 bytes-
dc.format.extent2382690 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการวัดแสงen
dc.subjectกำลังการส่องสว่างen
dc.subjectพิพิธภัณฑ์ศิลป์ -- แสงสว่างen
dc.subjectแสงธรรมชาติen
dc.subjectการส่องสว่างภายในen
dc.titleเทคนิคการให้แสงธรรมชาติ อาคารพิพิธภัณฑ์แสดงภาพเขียนเขตร้อนชื้นen
dc.title.alternativeDaylighting techniques for the museum of art in hot-humid climateen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีอาคารes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsoontorn@asia.com, Soontorn.B@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kullasri_SU_front.pdf1.74 MBAdobe PDFView/Open
Kullasri_SU_ch1.pdf1.13 MBAdobe PDFView/Open
Kullasri_SU_ch2.pdf3.22 MBAdobe PDFView/Open
Kullasri_SU_ch3.pdf1.86 MBAdobe PDFView/Open
Kullasri_SU_ch4.pdf5.69 MBAdobe PDFView/Open
Kullasri_SU_ch5.pdf1.68 MBAdobe PDFView/Open
Kullasri_SU_back.pdf2.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.