Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9987
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไพศาล กิตติศุภกร-
dc.contributor.advisorลาวัลย์ ศรัทธาพุทธ-
dc.contributor.authorชลิสา โปรยบำรุง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-08-13T02:24:01Z-
dc.date.available2009-08-13T02:24:01Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740310397-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9987-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractกระบวนการสังเคราะห์ยาคล็อคซาซิลลินในเครื่องปฏิกรณ์แบบแบตซ์ เป็นปฏิกิริยาคายความร้อนที่มีการคายความร้อนสูง ในภาวะการดำเนินการปกติ หลังจากเริ่มป้อนสารเข้าสู่เครื่องปฏิกรณ์ ทำให้อุณหภูมิของเครื่องปฏิกรณ์สูงขึ้น และทำการควบคุมอุณหภูมิให้อยู่ที่ค่าเป้าหมายที่ต้องการ ในปัจจุบันใช้การควบคุมแบบพีไอดีในการควบคุมอุณหภูมิของเครื่องปฏิกรณ์ ซึ่งพบว่าประสิทธิภาพในการควบคุมต่ำ งานวิจัยนี้ได้เสนอการประยุกต์ใช้การควบคุมแบบเจเนริกโมเดล (จีเอ็มซี) เพื่อใช้ในการควบคุมอุณหภูมิของเครื่องปฏิกรณ์แบบแบตซ์ในกระบวนการสังเคราะห์ยาคล็อคซ่าซิลิน เนื่องจากการควบคุมแบบจีเอ็มซีเป็นตัวควบคุมที่ขึ้นกับแบบจำลองของกระบวนการ ซึ่งต้องทราบค่าสเตทและพารามิเตอร์ของระบบเพื่อใช้ในการคำนวณค่าตัวแปรปรับ ดังนั้นจึงต้องมีการนำเทคนิคการประมาณค่ามาใช้ร่วมกับการสร้างการควบคุมแบบจีเอ็มซีในการประมาณค่าสเตทที่ไม่สามารถวัดได้ และพารามิเตอร์ที่ไม่รู้หรือไม่ทราบค่า ในงานวิจัยนี้ได้ใช้ตัวกรองคาลมานในการประมาณค่าคงที่ของการเกิดปฏิกิริยา ผลการวิจัยพบว่าการควบคุมแบบจีเอ็มซีร่วมกับตัว กรองคาลมานให้ผลการควบคุมที่ใกล้เคียงกับการควบคุมแบบพีไอดี แต่จะมีความทนทานมากกว่าการควบคุมแบบพีไอดี ในกรณีที่เกิดความผิดพลาดของกระบวนการและแบบจำลอง เช่น ความผิดพลาดของค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน อัตราการป้อนสารตั้งต้น และอัตราการเกิดปฏิกิริยาในกระบวนการen
dc.description.abstractalternativeCloxacillin synthesis process in a batch reactor involves highly exothermic reactions resulting in high heat released of reaction. In a normal operation, after raw materials are initially fed into the reactor, the temperature of the reactor is raised and maintained at a desired set point. However, presently as a conventional PID controller is used to control such temperature profile, it often gives poor control response of the reactor. The thesis presents of the application of generic model control (GMC) to control the temperature of a batch reactor in the cloxacillin synthesis process. Since the GMC is a model-based controller, it needs states and parameters of a system to determine control action. Therefore, an estimation technique is incorporated into the GMC control formulation to estimate unmeasurable state and unknown/uncertain parameters. In this thesis, Kalman Filter is used to estimate the rate constant of the reaction. Simulation results have shown that, in a nominal case, the performance of the GMC with the Kalman Filter is similar to the PID controller. But the GMC with the Kalman Filter is much more robust than the PID in the presence of plant/model mismatch in heat transfer coefficient, raw material feed rate and rate of reaction.en
dc.format.extent1224047 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเครื่องปฏิกรณ์เคมีen
dc.subjectการควบคุมอุณหภูมิen
dc.titleการควบคุมอุณหภูมิของเครื่องปฏิกรณ์ในกระบวนการสังเคราะห์ยาคล็อคซาซิลลินen
dc.title.alternativeTemperature control of the reactor in the cloxacillin synthesis processen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมเคมีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPaisan.K@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chalisa.pdf1.2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.