Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9997
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยนาถ บุนนาค-
dc.contributor.authorอนันต์ วงษ์แก้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2009-08-13T03:23:44Z-
dc.date.available2009-08-13T03:23:44Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741717377-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/9997-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น ตั้งแต่เริ่มสถาปนากรุงเทพมหานครในปี พ.ศ. 2325 จนถึงปี พ.ศ. 2411 กรุงเทพมหานครได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงมาตลอดเวลา จากปัญหาการขาดแคลนจำนวนประชากรอันเป็นผลมาจากสงครามคราวเสียกรุงศรีอยุธยา ทำให้ในสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรีและในสมัยแรกของการก่อตั้งกรุงเทพมหานคร รัฐมีนโยบายที่สำคัญ คือ การดึงจำนวนผู้คนจากที่ต่างๆ ให้เข้ามาอาศัยในบริเวณพระนคร ทำให้กรุงเทพมหานครกลายเป็นแหล่งรวมชาวต่างชาติ ต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม ดังนั้นรัฐจึงหาทางในการควบคุมชุมชนให้อยู่อย่างสงบสุขด้วยวิธีการ กำหนดที่ตั้งชุมชน ตั้งหัวหน้าชุมชนรักษาความสงบเรียบร้อยภายในชุมชน และใช้ระบบไพร่ในการควบคุมกำลังคนเหล่านั้น การดำเนินชีวิตภายในชุมชน รัฐจะไม่มีนโยบายในการแทรกแซงการดำรงชีวิตไม่ว่าจะเป็นเรื่องการนับถือศาสนา ขนบธรรมเนียมประเพณี ตลอดจนการประกอบอาชีพ แต่ละชุมชนจะมีอิสระในการดำรงชีพ การติดต่อค้าขายได้สร้างความสัมพันธ์ระหว่างชุมชน ส่งผลให้เกิดการขยายตัวของชุมชน และการเข้ามาของชาติตะวันตกเป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้รัฐเกิดการเปลี่ยนแปลงนโยบายทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคมen
dc.description.abstractalternativeIn the early Ratanakosin Period, from the establishment of Bangkok in 1782 till the year 1868, Bangkok continually changed. Owing to the lack of manpower resources which was a consequence of the wars against Burma, one key policy of the Siamese state during the Thonburi Period and the early years of the Ratanakosin Period was to resettle people from various areas in Bangkok and its environs. This made Bangkok an urban centre which contained many races, languages, and cultures. The state therefore found ways of controlling these people, for example by fixing the sites of settlement, appointing community leaders who were responsible for peace and order in their communities, and using the nai-phrai manpower control system. The state did not interfere directly with the way of life in these communities, neither in matters of customs and religion nor in the occupations of the inhabitants. The people in the communities each had the freedom to engage in their own work. Trade fostered relations between the various communities, leading to the expansion of those communities. The arrival of the Western nations in Bangkok was another factor which contributed to the stateʼs change of political, economic, and social policy.en
dc.format.extent1790348 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.397-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectไทย -- ประวัติศาสตร์ -- กรุงรัตนโกสินทร์, 2325-2411en
dc.subjectกรุงเทพฯ -- ประวัติศาสตร์en
dc.titleการเปลี่ยนแปลงและการขยายตัวของกรุงเทพมหานครตั้งแต่รัชกาลที่ 1 ถึง รัชกาลที่ 4 พ.ศ. 2325-2411en
dc.title.alternativeChange and expansion of Bangkok from the Reign of King Rama I to the Reign of King Rama IV, 1782-1868en
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineประวัติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPiyanart.B@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.397-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anan.pdf1.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.