Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11210
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยพร วิชชาวุธ-
dc.contributor.authorสุรีย์วรรณ สรงสระแก้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2009-09-22T03:43:51Z-
dc.date.available2009-09-22T03:43:51Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741746946-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11210-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการรับรู้ความเป็นธรรมที่มีต่อการประเมินการปฏิบัติงานและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การระหว่างพนักงานที่ได้รับการประเมินการปฏิบัติ งานโดยผู้บังคับบัญชากับพนักงานที่ได้รับการประเมินการปฏิบัติงานโดยคณะกรรมการ ตลอดจนศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเป็นธรรม และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การของพนักงานที่ได้รับการประเมินการปฏิบัติงานต่างกัน คือประเมินการปฏิบัติงานโดยผู้บังคับบัญชา และประเมินการปฏิบัติงานโดยคณะกรรมการ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) มาตรวัดการรับรู้ความเป็นธรรมต่อการประเมินการปฏิบัติงานโดยผู้บังคับบัญชา และการประเมินโดยคณะกรรมการ 2) มาตรวัดพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ กลุ่มตัวอย่างประกอบไปด้วยพนักงานที่ได้รับการประเมินการปฏิบัติงานโดยผู้บังคับบัญชา จำนวน 60 คน และพนักงานที่ได้รับการประเมินการปฏิบัติงานโดยคณะกรรมการ จำนวน 65 คน ผลการวิจัยพบว่าพนักงานที่ได้รับการประเมินการปฏิบัติงานโดยคณะกรรมการ รับรู้ความเป็นธรรมและมีพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การในระดับที่สูงกว่า พนักงานที่ได้รับการประเมินการปฏิบัติงานโดยผู้บังคับบัญชา (p<.01 ทั้ง 2 กรณี) นอกจากนี้ยังพบความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเป็นธรรมและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การทั้งในกลุ่มพนักงานที่ได้รับการประเมินการปฏิบัติงานโดยผู้บังคับบัญชา และกลุ่มพนักงานที่ได้รับการประเมินการปฏิบัติงานโดยคณะกรรมการและไม่ว่าจะประเมินการปฏิบัติงานโดยผู้บังคับบัญชาเพียงคนเดียวหรือโดยคณะกรรมการ ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความเป็นธรรม และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การที่เกิดขึ้นในพนักงานทั้งสองกลุ่มก็ไม่มีความแตกต่างกันen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to compare perception of fairness in performance appraisal and organizational citizenship behavior between employees who were appraised by supervisors and those appraised by committees. The research also examined the relationship between perception of justice and organizational citizenship behavior of employees appraised by these two systems. The measurement consisted of a perception of justice scale and an organizational citizenship behavior scale. The sample consisted of 60 employees who were appraised by supervisors and 65 employees who were appraised by committees. Results indicated that employees who were appraised by committees perceived fairness and performed organizational citizenship behavior at a higher level than employees who were appraised by supervisors (p<.01). Furthermore, results showed that there was no significant difference between the two groups in the relationship between perception of fairness and organizational citizenship behavior.en
dc.format.extent651487 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการทำงาน -- การประเมินen
dc.subjectความยุติธรรมen
dc.titleการเปรียบเทียบผลของการประเมินการปฏิบัติงานโดยผู้บังคับบัญชากับโดยคณะกรรมการ ต่อการรับรู้ความเป็นธรรมและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การen
dc.title.alternativePerformance appraisal by supervisor and committee: a comparison of the effects on perception of justice and organizational citizenship behavioren
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorChaiyaporn.W@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sureewan.pdf636.22 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.