Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11260
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนารัต เกษตรทัต-
dc.contributor.advisorธเนศ จัดวัฒนกุล-
dc.contributor.authorทิพวรรณ วงเวียน-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์-
dc.date.accessioned2009-09-22T07:28:53Z-
dc.date.available2009-09-22T07:28:53Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741418906-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11260-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractสร้างเกณฑ์วิธีการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์ ด้วยวิธีการติดตามเชิงลึก และศึกษาผลการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จาการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์ ตามเกณฑ์วิธีที่สร้างขึ้น ณ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จากการติดตามการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์ในผู้ป่วยนอกที่ติดเชื้อเอชไอวี จำนวน 160 ราย ระหว่างวันที่ 1 พฤศจิกายน 2548 ถึง 28 กุมภาพันธ์ 2549 เป็นผู้ป่วยรายใหม่ที่เริ่มใช้ยา 17 ราย (10.6%) และผู้ป่วยรายเก่าที่ใช้ยาต้านไวรัสเอดส์ 143 ราย (89.4%) ทุกรายใช้สูตรยา HAART โดยส่วนใหญ่ใช้ AZT+3TC+NVP (61.9%) รองลงมาคือ d4T+3TC+NVP (22.5%) พบอาการไม่พึงประสงค์จาการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์ 44.4% ของผู้ป่วย มีอุปบัติการณ์ของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จาการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์ เท่ากับ 4.0 ราย และ 6.2 เหตุการณ์ ต่อ 1000 person-day ความน่าจะเป็นของความสัมพันธ์ระหว่างยาต้านไวรัสเอดส์ กับอาการไม่พึงประสงค์อยู่ในระดับอาจจะใช่ 23.8% และระดับน่าจะใช่ 20.6% ผู้ป่วย 35% มีอาการทางคลินิกที่ผิดปกติและ 18.1% มีผลทางห้องปฏิบัติการที่ผิดปกติ ระดับความรุนแรงของอาการไม่พึงประสงค์ส่วนใหญ่ 91.5% ของผู้ป่วยเกิดในระดับ 1 และ 2 ผู้ป่วย 2 รายเกิดอาการไม่พึงประสงค์ที่สาหัส จนต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล เนื่องจากภาวะโลหิตจากระดับ 4 (Hgb<6.6 กรัม/เดซิลิตร) จากยาสูตรผสมของ AZT+3TC ระบบอวัยวะที่เกิดอาการไม่พึงประสงค์บ่อยที่สุดคือ ระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ คลื่นไส้ อาเจียน รองลงมาคือ ระบบเมแทบอลิก ได้แก่ ภาวะไขมันกระจายตัวผิดปกติ ในระหว่างที่ดำเนินการวิจัยมีการเปลี่ยนสูตรยาต้านไวรัสเอดส์ในผู้ป่วย 13 ราย ซึ่งมีสาเหตุจากการเกิดอาการไม่พงประสงค์ ความเห็นร่วมในการระบุความน่าจะเป็นของความสัมพันธ์ ระหว่างอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นกับยาที่สงสัย พบว่าแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทั้งสองท่านและผู้วิจัย มีความเห็นตรงกันในระดับพอใช้ (K 1= 0.50, K2=0.57, K3=0.53) ผลการวิจัยครั้งนี้ส่วนใหญ่พบการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ ในระดับที่ไม่สาหัสและไม่รุนแรง เนื่องจากมีการเฝ้าระวังติดตามการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ จากการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์อย่างใกล้ชิด โดยการใช้เกณฑ์วิธีที่สร้างขึ้นมา ทำให้เภสัชกรสามารถค้นหาและติดตามอาการไม่พึงประสงค์ได้รวดเร็วและสะดวกขึ้นen
dc.description.abstractalternativeTo develop protocols for intensive monitoring of adverse drug reactions on antiretrovirals and to study results of the implementation of these protocols at Queen Savang Vadhana Memorial Hospital. One-hundred and sixty HIV-infected outpatients were monitored during November 1, 2005 to February 28, 2006. There were 17 new patients (10.6%) firstly received antiretrovirals and 143 patients (89.4%) who had already received antiretrovirals. All patients obtained highly active antiretroviral therapy (HAART). Most patients (61.9%) were treated with AZT+3TC+NVP where d4T=3TC-NVP were secondly used (22.5%). It was found that 44.4% of patients had adverse drug reactions. The ADR incidence of antiretrovirals was 4.0 patients and 6.2 events per 1000 person-day. Causality assessments were perfprmed which gave 23.8% as 'possible' and 20.6% as 'probable'. Clinical signs and symptoms were presented in 35% of patients and 18.1% with abnormal laboratories. The severity of reactions classified as grade 1 or 2 were found in 91.5% of patients. Two patients were graded as serious ADR resulting in hospitalization from grade 4 anemia (Hgb<6.5 g/dl) caused by combination of AZT+3TC. Gastrointestinal system such as nausea and vomiting were the most organ system affected. The second was metabolic system especially lipodystrophy. During the study period, 13 patients had to change antiretroviral regimens because of adverse reactions. Agreement on the causality assessments among two physicians and a pharmacist showed faire results. (K1=0.50, K2-0.57, L3=0.53). The results from this study show that intensive monitoring of adverse drug reactions using the established protocols can help reducing serious and severe ADRs in antiretroviral patients because pharmacist can identify and monitor ADRs quickly and conveniently.en
dc.format.extent1562370 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectยา -- ผลข้างเคียงen
dc.subjectยาต้านไวรัสเอดส์en
dc.subjectผู้ติดเชื้อเอชไอวีen
dc.titleการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยาต้านไวรัสเอดส์ในผู้ป่วยนอกติดเชื้อเอชไอวี ณ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชาen
dc.title.alternativeAdverse drug reaction monitoring of antiretrovirals in HIV-Infected outpatients at queen savang vadhana memorial hospitalen
dc.typeThesises
dc.degree.nameเภสัชศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเภสัชกรรมคลินิกes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorNarat.K@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Pharm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
tippawan.pdf1.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.