Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11800
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorยุพิน อังสุโรจน์-
dc.contributor.authorเสาวณีย์ โกวิทเทวาวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2009-12-09T04:08:38Z-
dc.date.available2009-12-09T04:08:38Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741704534-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/11800-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractกำหนดและประเมินตัวชี้วัดประสิทธิผลของระบบงาน การบริการพยาบาลในศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร โดยใช้เทคนิควิจัยแบบเดลฟาย ผู้เชี่ยวชาญประกอบด้วยหัวหน้าพยาบาลศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร ผู้เชี่ยวชาญด้านงานสอนการบริหารพยาบาลผู้เชี่ยวชาญด้านวิชาการบริหารพยาบาล สาธารณสุข และผู้เชี่ยวชาญด้านนโยบายและแผนกองการพยาบาลสาธารณสุข สำนักอนามัย จำนวน 18 ท่าน ผลการวิจัยพบว่า ตัวชี้วัดประสิทธิผลของระบบงานการบริการพยาบาลในศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร ที่ผู้เชี่ยวชาญให้ความเห็นทั้งหมด 234 รายการ และผู้เชี่ยวชาญมีความเห็นสอดคล้องมีทั้งหมด 128 รายการ โดยจัดกลุ่มได้ 4 กลุ่ม ประกอบด้วย 1) การบริหารจัดการทางการพยาบาล 2) การบริการพยาบาลในศูนย์ 3) การบริการพยาบาลในชุมชน และ 4) การพิทักษ์สิทธิผู้ใช้บริการ รายการตัวชี้วัดการบริหารจัดการทางการพยาบาล จำนวน 57 รายการ จำแนกเป็น กลุ่มตัวชี้วัดย่อยได้ 8 กลุ่ม ได้แก่ 1) นโยบายองค์กร 2) การจัดองค์กร 3) การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 4) เครื่องมือ อุปกรณ์ 5) สิ่งแวดล้อม อาคารสถานที่ และสิ่งอำนวยความสะดวก 6) การประสานงาน 7) ข้อมูลข่าวสารและการรายงาน และ 8) งบประมาณ รายการตัวชี้วัดการบริการพยาบาลในศูนย์ จำนวน 30 รายการ จำแนกเป็นตัวชี้วัดย่อยได้ 5 กลุ่ม ได้แก่ 1) การให้บริการพยาบาลที่สอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ 2) การพัฒนาการจัดระบบการดูแลผู้ใช้บริการ 3) กิจกรรมพัฒนาคุณภาพ 4) พฤติกรรมผู้ให้บริการ และ 5) การประเมินผลการปฏิบัติงาน รายการตัวชี้วัดการบริการพยาบาลในชุมชน จำนวน 28 รายการ จำแนกเป็นกลุ่มตัวชี้วัดย่อยได้ 4 กลุ่ม ได้แก่ 1) เป้าหมายเชิงกิจกรรมบริการพยาบาล 2) บริการที่ต่อเนื่อง 3) การเพิ่มศักยภาพของชุมชนในการดูแลตนเอง และ 4) การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน รายการตัวชี้วัดการพิทักษ์ผู้ใช้บริการ จำนวน 13 รายการ จำแนกเป็นกลุ่มตัวชี้วัดย่อยได้ 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) การเฝ้าระวังในการคุ้มครองสิทธิในระดับนโยบาย และ 2) การเฝ้าระวังในการคุ้มครองสิทธิในระดับปฏิบัติการ ผลการประเมินตัวชี้วัดประสิทธิผลของระบบงานการบริการพยาบาลในศูนย์บริการ สาธารณสุข จากการสนทนากลุ่มพยาบาลศูนย์บริการสาธารณสุขมีความเห็นที่สอดคล้องกันกับ ตัวชี้วัดประสิทธิผลของระบบงานการบริการพยาบาลในศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานครen
dc.description.abstractalternativeTo search and analyze the effectiveness indicators of nursing service system in health centers, Bangkok Metropolis by using Delphi technique. The 18 experts were nursing administrators of health centers, teaching experts in nursing administration, academic experts in public health policy and planning of public health nursing centers. The results revealed that effectiveness indicators of nursing service system in health centers, Bangkok Metropolis composed of 234 items, 128 items were agreed by the 18 experts, and were classified into four aspects: nursing management, nursing service in health centers, nursing service in community health, and advocacy of clients. The aspect of nursing management composed of 57 items. The items can be classified into 8 categories: policy, organizing, human resource management, instrument, environment, co-ordination, information, and financing. The aspect of nursing service in health centers composed of 30 items. The items can be classified into 5 categories: professional nursing service, nursing service system, quality development activities, service behavior, and performance evaluation. The aspect of nursing service in community health centers composed of 28 items. The items can be classified into 4 categories: nursing activity goal, continuous service, self-care potential, and process evaluation. The aspect of advocacy of clients composed of 13 items. The items can be classified into 2 categories: surveilance in client advocacy policy and surveillance in client advocacy practice. The evaluation from a focus group of nurses from health centers agreed with effectiveness indicators.en
dc.format.extent1770935 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectบริการการพยาบาลen
dc.subjectศูนย์บริการสาธารณสุข -- ไทย -- กรุงเทพฯen
dc.subjectประสิทธิผลองค์การen
dc.titleการศึกษาตัวชี้วัดประสิทธิผลของระบบงานการบริการพยาบาล ในศูนย์บริการสาธารณสุข กรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeA study of effectiveness indicatiors of nursing service system in health centers, Bangkok Metropolisen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisoryupin.a@chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
saowanee.pdf1.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.