Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12735
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศ์พรต ฉัตราภรณ์-
dc.contributor.authorกัลยกานต์ หนูขวัญแก้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี-
dc.date.accessioned2010-06-02T01:13:33Z-
dc.date.available2010-06-02T01:13:33Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12735-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บช.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractศึกษาเปรียบเทียบความสามารถของกำไรตามวิธีส่วนได้เสีย และวิธีราคาทุนในการอธิบายผลตอบแทนหลักทรัพย์ กลุ่มตัวอย่างคือบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2543-2549 ยกเว้นบริษัทกลุ่มธนาคาร กลุ่มเงินทุนหลักทรัพย์ กลุ่มประกันชีวิตและประกันภัย และต้องเป็นบริษัทที่ไม่ถูกจัดประเภทให้อยู่ในกลุ่มบริษัทที่กำลังฟื้นฟูกิจการ การศึกษาในครั้งนี้ใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอนุมาน (การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเดี่ยว (Univariate regression analysis)) ในการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งแบบรวมและแบบแยกรายปี โดยใช้ค่า R[superscript 2] เป็นตัววัดความสามารถของกำไรในการอธิบายผลตอบแทนของหลักทรัพย์ ผลการวิจัยพบว่า กำไรตามวิธีส่วนได้เสียมีความสามารถในการอธิบายผลตอบแทนหลักทรัพย์ ได้ดีกว่ากำไรตามวิธีราคาทุนทั้งแบบรวมและแบบแยกรายปี และจากประเด็นที่ศึกษาเพิ่มเติมคือ ศึกษาบริษัทที่มีผลต่างของกำไรตามวิธีส่วนได้เสียและวิธีราคาทุนมากที่สุด 25% ของข้อมูลทั้งหมด ศึกษาบริษัทที่อยู่ใน Set 100 Index และศึกษารายกลุ่มอุตสาหกรรม (กลุ่มอุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร กลุ่มอุตสาหกรรมสินค้าอุปโภคและบริโภค กลุ่มอุตสาหกรรมวัตถุดิบและสินค้าอุตสาหกรรม กลุ่มอุตสาหกรรมอสังหาริมทรัพย์และก่อสร้าง กลุ่มอุตสาหกรรมทรัพยากร กลุ่มอุตสาหกรรมบริการและกลุ่มอุตสาหกรรมเทคโนโลยี) ผลการทดสอบพบว่า กำไรตามวิธีส่วนได้เสียมีสามารถในการอธิบายผลตอบแทนหลักทรัพย์ได้ดีกว่ากำไรตามวิธีราคาทุนen
dc.description.abstractalternativeTo compare the ability between net income based on the equity method and the cost method in explaining stocks returns. The sample consists of Thai listed companies in all industries except those in Banking, Finance & Securities, Insurance and REHABCO, in the Stock Exchange of Thailand during 2000-2006. Both descriptive statistics and inferential statistics (a univariate regression analysis) were use to analyze pooled and annual data. The results were based on the R[superscript 2] statistic. The results indicate that the net income based on the equity method has more powerful to explain stock returns than the net income based on the cost method for both pooled and annual sample. The results still hold for sub-samples of companies whose differences in net income based on the equity method and the cost method are greater than 25%, and of SET 100 companies.en
dc.format.extent1252136 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกำไรen
dc.subjectทฤษฎีประสิทธิภาพตลาดหลักทรัพย์en
dc.subjectวิธีส่วนได้เสีย (การบัญชี)en
dc.subjectอัตราผลตอบแทนen
dc.titleผลกระทบของกำไรสุทธิตามวิธีส่วนได้เสียและวิธีราคาทุนที่มีต่อผลตอบแทนของหลักทรัพย์en
dc.title.alternativeThe effect of net income based on the equity method and the cost method on stock returnsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameบัญชีมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบัญชีes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPongprot.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kunyakan.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.