Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12830
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีณา จีระแพทย์-
dc.contributor.authorนงค์คราญ เรืองจิตต์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-06-11T07:11:48Z-
dc.date.available2010-06-11T07:11:48Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743339124-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12830-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการสอนทบทวนโดยคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การบริหารการให้ยาฉีด ที่มีต่อความพร้อมในการปฏิบัติการฉีดยาโดยรวมและรายด้าน ได้แก่ ด้านความรู้และด้านเจตคติของนักศึกษาพยาบาล แบบของการทดลอง คือ แบบสามกลุ่ม วัดก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 ปีการศึกษา 2542 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 60 คน ซึ่งได้จากการจับคู่ระดับผลการเรียนในวิชาการพยาบาลพื้นฐานที่เท่ากันหรือใกล้เคียงกัน แล้วสุ่มเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม กับกลุ่มควบคุม 1 กลุ่ม กลุ่มละ 20 คน กลุ่มทดลองที่ 1 ได้รับการสอนทบทวนโดยคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มทดลองที่ 2 ได้รับการสอนทบทวนโดยอาจารย์และคอมพิวเตอร์ช่วยสอน ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการสอนทบทวนโดยอาจารย์ เครื่องมือในการวิจัยคือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่องการบริหารการให้ยาฉีด แผนการสอน และชุดทดสอบความพร้อมในการปฏิบัติการฉีดยาได้แก่ แบบทดสอบความพร้อมด้านความรู้และแบบสอบถามความพร้อมด้านเจตคติในการปฏิบัติการฉีดยาของนักศึกษาพยาบาล ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นและผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ค่าความเที่ยงของแบบทดสอบความพร้อมด้านความรู้ในการปฏิบัติการฉีดยาเท่ากับ 0.73 และค่าความเที่ยงของแบบสอบถามความพร้อมด้านเจตคติในการปฏิบัติการฉีดยาเท่ากับ 0.87 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การทดสอบที วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธีทดสอบของเชฟเฟ ผลการวิจัยที่สำคัญสรุปได้ดังนี้ 1. ความพร้อมในการปฏิบัติการฉีดยาโดยรวมและรายด้านความรู้และด้านเจตคติของนักศึกษาพยาบาล ภายหลังได้รับการสอนทบทวนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความพร้อมในการปฏิบัติการฉีดยาโดยรวมและความพร้อมด้านความรู้ในการปฏิบัติการฉีดยาของนักศึกษาพยาบาลหลังการสอนทบทวน ระหว่างกลุ่ม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยความพร้อมในการปฏิบัติการฉีดยาโดยรวมและความพร้อมด้านความรู้ในการปฏิบัติการฉีดยาของกลุ่มที่สอนทบทวนโดยคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กับอาจารย์และคอมพิวเตอร์ช่วยสอน สูงกว่ากลุ่มที่สอนทบทวนโดยอาจารย์ ส่วนความพร้อมด้านเจตคติในการปฏิบัติการฉีดยาหลังการสอนทบทวน ระหว่างกลุ่มไม่แตกต่างกันen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this quasi-experimental research were to study the effect of using the computer assisted instruction for administering injection medications (CAI-AIM) on injection practice readiness of nursing students. The quasi-experimental research of three-group pretest-posttest design was utilized. Samples were 60 second-year nursing students from Faculty of Nursing, Chiang Mai University. They were matched by the grade obtained from the Fundamental of Nursing course and were randomly assigned into two experimental groups and one control group, 20 in each group. The experimental group I received the tutorial teaching method by the CAI-AIM. The experimental group II received the tutorial teaching method by the teacher and the CAI-AIM. The control group received the tutorial teaching method by the teacher only. The instruments were developed by the researcher and tested for content validity. The instruments consisted of the CAI-AIM program, lesson plan, and the injection practice readiness instrument which was composed of knowlegde and attitude dimensions. Reliability of the knowledge readiness test was .73 and the attitude readiness questionnaire was .87. Data were analyzed by t-test, ANOVA, and Scheffe's method. Major findings were as follows: 1. The injection practice readiness of nursing students after receiving the CAI-AIM totorial teaching was significantly higher than that before receiving the tutorial teaching, at the .05 level. 2. The overall injection practice readiness and the knowledge readiness dimension of nursing students in the groups receiving tutorial teaching by the CAI-AIM and the teacher with CAI-AIM were significantly higher than that by the teacher, at the .05 level. The attitude readiness dimension was not significantly different among the three groups.en
dc.format.extent491324 bytes-
dc.format.extent584120 bytes-
dc.format.extent2938295 bytes-
dc.format.extent785816 bytes-
dc.format.extent529974 bytes-
dc.format.extent762828 bytes-
dc.format.extent1655089 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.1999.531-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพยาบาล -- คอมพิวเตอร์ช่วยการสอนen
dc.subjectนักศึกษาพยาบาลen
dc.subjectการฉีดยาen
dc.subjectพยาบาล -- การศึกษาและการสอนen
dc.subjectNurse -- Computer-assisted instruction-
dc.subjectNursing students-
dc.subjectNurse -- Study and teaching-
dc.titleผลการสอนทบทวนโดยคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่อง การบริหารการให้ยาฉีดที่มีต่อความพร้อมในการปฎิบัติการฉีดยาของนักศึกษาพยาบาลen
dc.title.alternativeThe effect of tutorial teaching in administering injection medications through the computer assisted instruction on injection practice readiness of nursing studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการพยาบาลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.1999.531-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nongkran_Ru_front.pdfหน้าปก และ บทคัดย่อ479.81 kBAdobe PDFView/Open
Nongkran_Ru_ch1.pdfบทที่ 1570.43 kBAdobe PDFView/Open
Nongkran_Ru_ch2.pdfบทที่ 22.87 MBAdobe PDFView/Open
Nongkran_Ru_ch3.pdfบทที่ 3767.4 kBAdobe PDFView/Open
Nongkran_Ru_ch4.pdfบทที่ 4517.55 kBAdobe PDFView/Open
Nongkran_Ru_ch5.pdfบทที่ 5744.95 kBAdobe PDFView/Open
Nongkran_Ru_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก1.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.