Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12952
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพงศา พรชัยวิเศษกุล-
dc.contributor.authorชาญณรงค์ เอื้อศิริศักดิ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-06-22T01:34:59Z-
dc.date.available2010-06-22T01:34:59Z-
dc.date.issued2550-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/12952-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เรื่อง “การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตเชิงเทคนิคของรถหัวลากตู้คอนเทนเนอร์” จากรถหัวลากตู้คอนเทนเนอร์ 12 คันโดยในแต่ละเที่ยวที่วิ่งจะมีการบรรทุกสินค้าทุกครั้ง ซึ่งเป็นข้อมูลแบบ Panel Data มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อความมีประสิทธิภาพของการขนส่งทางรถหัวลากตู้คอนเทนเนอร์ โดยใช้วิธีทาง Parametric Approach เป็นวิธีการวัดประสิทธิภาพด้วยวิธีทางเศรษฐมิติด้วย วิธีแบบจำลองพรมแดนเชิงสุ่ม (Stochastic Frontiers Model) โดยมีรูปแบบจำลองการผลิตแบบ Translog Production Function มีปัจจัยการผลิตประกอบไปด้วย น้ำมัน ค่าแรงพนักงาน และค่าเสื่อมราคาของรถยนต์ เพื่อหาขอบเขตการผลิตซึ่งจากการศึกษาพบว่า ปัจจัยทางด้านน้ำมันมีความเข้มข้นมากที่สุดต่อการผลิต รองลงมาได้แก่ค่าเสื่อมและค่าแรง ตามลำดับ ด้านการศึกษาพบว่าการผลิตของรถหัวลากตู้คอนเทนเนอร์เฉลี่ยทั้ง 12 คันมีค่าเท่ากับ 0.8131 เมื่อเปรียบเทียบกับเส้นขอบเขตการผลิต และยังพบอีกว่ารถหัวลากตู้คอนเทนเนอร์มีระดับการผลิตแบบผลได้ต่อ ขนาดคงที่ (Constant Return to Scale) คือเมื่อเพิ่มปัจจัยการผลิตเพิ่มขึ้นผลผลิตที่ได้จะเท่ากับปัจจัยการผลิตที่ใส่ลงไปอย่างเป็นสัดส่วนตามกัน ด้านการศึกษาความด้อยประสิทธิภาพพบว่าตัวแปรที่มีผลต่อความด้อยประสิทธิภาพที่มีนัยทางสถิติประกอบไปด้วย อายุพนักงาน, อายุรถหัวลากตู้คอนเทนเนอร์ ค่าผ่านทางขึ้นทางด่วนพิเศษ และการวิ่งขนส่งไปยังบริเวณต่างจังหวัดมีความประสิทธิภาพมากกว่าการวิ่งแต่บริเวณกรุงเทพและปริมณฑล นอกจากนี้เมื่อดูกลุ่มรถหัวลากตู้คอนเทนเนอร์ที่มีค่าเฉลี่ยประสิทธิภาพอันดับสูงๆพบว่าเป็นกลุ่มที่มีการใช้รถหัวลากที่มีอายุการใช้งานน้อย และพนักงานขับรถที่มีอายุหรือประสบการณ์สูงen
dc.description.abstractalternativeThis thesis is about analyzing the efficiency of the trailer from 12 trailers, each transport real goods which are panel data. The objective was to acknowledge the entire factors that affect the efficiency of trailer transportation. Using Parametric Approach method which measures the efficiency by Stochastic Frontiers Model, and model has a Translog Production Function. There are three main factors gas, wages and trailer depreciation that was generated production frontier that shows gas was the most intensity factor, then trailer depreciation and wages consecutively. The study shows that the estimated production of 12 trailers when compared to production frontier are 0.8131, and that trailers have Constant Return to Scale; the more factor you put in the more product you get. Another study, The inefficiency, shows that the factor that affect inefficiency are driver’s age, trailer’s age, express way-fee and deliver outside Bangkok has more efficiency than inside the capital city. Another significant point is the efficiency trailer came from the combination of newer trailer and experience driver.en
dc.format.extent1531285 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2007.878-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectระบบขนส่งคอนเทนเนอร์en
dc.subjectการขนส่งสินค้าen
dc.titleการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการผลิตเชิงเทคนิคของรถหัวลากตู้คอนเทนเนอร์en
dc.title.alternativeThe technical efficiency analysis of trailersen
dc.typeThesises
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPongsa.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2007.878-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Channarong.pdf1.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.