Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13012
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพวงเพ็ญ ชุณหปราณ-
dc.contributor.authorทองศุกร์ บุญเกิด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-07-08T11:18:01Z-
dc.date.available2010-07-08T11:18:01Z-
dc.date.issued2542-
dc.identifier.isbn9743340513-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13012-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการปรับตัวภายหลังถูกทำร้ายของพยาบาลวิชาชีพ ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล การจัดการความปลอดภัยในการทำงานของหัวหน้างานกับการปรับตัวภายหลังถูกทำร้ายของพยาบาลวิชาชีพหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลศูนย์ รวมทั้งศึกษาตัวแปรที่สามารถพยากรณ์การปรับตัวภายหลังถูกทำร้ายของพยาบาลวิชาชีพ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 210 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามการจัดการความปลอดภัยในการทำงานของหัวหน้างาน และแบบสอบถามการปรับตัวภายหลังถูกทำร้ายของพยาบาลวิชาชีพที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ซึ่งตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาแล้ว และมีค่าความเที่ยงเท่ากับ .95 และ .94 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์และทดสอบทางสถิติโดยการทดสอบไคสแควร์ และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเพิ่มตัวแปรเป็นขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ค่าเฉลี่ยการปรับตัวภายหลังถูกทำร้ายของพยาบาลวิชาชีพ หน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลศูนย์โดยรวมอยู่ในระดับดี เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า การปรับตัวภายหลังถูกทำร้ายของพยาบาลวิชาชีพด้านการทำหน้าที่ในสังคม ด้านขวัญกำลังใจ และด้านภาวะสุขภาพอยู่ในระดับดี 2. การอบรมการป้องกันตัวและการจัดการความปลอดภัยในการทำงานของหัวหน้างานมีความสัมพันธ์กับการปรับตัวภายหลังถูกทำร้ายของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. ตัวแปรที่พยากรณ์การปรับตัวภายหลังถูกทำร้ายของพยาบาลวิชาชีพ หน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลศูนย์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ การจัดการความปลอดภัยในการทำงานของหัวหน้างานสามารถพยากรณ์การปรับตัวภายหลังถูกทำร้ายของพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ 29.9 (R2 = .299) ได้สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ การปรับตัวภายหลังถูกทำร้ายของพยาบาลวิชาชีพ = .546 การจัดการความปลอดภัยในการทำงานของหัวหน้างานen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the adaptation of professional nurses after being assaulted, and the relationships among personal factors, work safety management of head nurses and adaptation of professional nurses after being assaulted emergency department Regional Hospitals, and Medical Centers and to search for variables that would be able to predict the adaptation of professional nurses after being assaulted. The subjects consisted of 210 professional nurses selected by simple random sampling technique. The research instruments were questionaires developed by the researcher consisted of work safety management of head nurses and adaptation of professional nurses after being assaulted questionaires which were tested for content validity and the reliability were .95 and .94. Statistical techniques utilized in data analysis were mean, Chi-square and stepwise multiple regression analysis. Major finding were the following: 1. The mean score of adaptation of professional nurses after being assaulted was at good level. The mean scores of adaptation of professional nurses after being assaulted, in the aspects of social functioning, morale, and health were at good level. 2. Defensive training and work safety management of head nurses were positively and significantly related to adaptation of professional nurses after being assaulted, at the .05 level. 3. The variables that could significantly predict the adaptation of professional nurses after being assaulted was work safety management of head nurses at the .05 level. The predictors accounted for 29.9 percent (R2 = .299) of the variance. The predicted equation in standard in standard score from the analysis was as follow: ADAPTATION OF PROFESSIONAL NURSES AFTER BEING ASSAULTED = .546 WORK SAFETY MANAGEMENT OF HEAD NURSES.en
dc.format.extent550448 bytes-
dc.format.extent1032503 bytes-
dc.format.extent2367632 bytes-
dc.format.extent564970 bytes-
dc.format.extent1345602 bytes-
dc.format.extent1302563 bytes-
dc.format.extent1220600 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพยาบาลen
dc.subjectโรงพยาบาล -- มาตรการความปลอดภัยen
dc.subjectสภาพแวดล้อมการทำงานen
dc.subjectขวัญในการทำงานen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลการจัดการความปลอดภัยในการทำงานของหัวหน้างานกับการปรับตัวภายหลังถูกทำร้ายของพยาบาลวิชาชีพหน่วยงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลศูนย์en
dc.title.alternativeRelationships among personal factors, work safety management of head nurses, and adaptation of professional nurses after being assaulted emergency department, regional hospitals and medical centersen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPaungphen.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tongsook_Bo_front.pdf537.55 kBAdobe PDFView/Open
Tongsook_Bo_ch1.pdf1.01 MBAdobe PDFView/Open
Tongsook_Bo_ch2.pdf2.31 MBAdobe PDFView/Open
Tongsook_Bo_ch3.pdf551.73 kBAdobe PDFView/Open
Tongsook_Bo_ch4.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open
Tongsook_Bo_ch5.pdf1.27 MBAdobe PDFView/Open
Tongsook_Bo_back.pdf1.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.