Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13359
Title: Shoreline change after the 26 December 2004 tsunami between Laem Pakarang-Khao Lak area, Changwat Phang-Nga, Thailand
Other Titles: การเปลี่ยนแปลงชายฝั่งทะเลหลังการเกิดสึนามิวันที่ 26 ธันวาคม 2547 ระหว่างแหลมปะการัง-เขาหลัก จังหวัดพังงา ประเทศไทย
Authors: Sumet Phantuwongraj
Advisors: Sombat Yumuang
Montri Choowong
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: Sombat.Y@Chula.ac.th
Montri.C@Chula.ac.th
Subjects: Coast changes -- Thailand
Tsunamis
Issue Date: 2006
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The 26 December 2004 tsunami had left an extremely damage to the Andaman Sea coast of Thailand. Lame Pakarang-Khaolak, Phangnga province was the most affected area in shoreline changed from this event. Numerous sediments from shoreface through beach area were eroded suddenly and moved inland rapidly due to the high energy of tsunami wave. Shoreline position was changed inland and inlet/outlet channels were wider. This study aims to monitor recovering process in beach area after shoreline was changed by this event. Remote sensing data and field survey were mainly used in this study. Twelve periods from 2002 to 2006 of satellite images were used to calculate beach area and shoreline change. Field survey was carried out every 3 months for beach profiling and sediment sampling in four periods since January to November 2006. Beach profiles showed the balance of deposition and erosion which the change depends on season changes. Grain size of beach sediments at Ban Gang Niang was coarse to very coarse sand and finer to the north as fine to medium sand at Blue Village Pakarang Resort. Beach sediments were composed of quartz (60%), bio clasts (35%), and others (5%). In conclusion, according to the satellite images analysis and field survey, shoreline and beach areas in the study area were almost recovered after one year whereas inlet/outlet channels (except Ban Bang Niang) were not recovered. In general, eroded areas by 2004 tsunami were approximately 90 percent recovered until November 2006.
Other Abstract: เหตุการณ์สึนามิเมื่อวันที่ 26 ธันวาคม พ.ศ. 2547 ก่อให้เกิดความเสียหายกับบริเวณชายฝั่งทะเลอันดามันของประเทศไทยเป็นอย่างมาก พื้นที่แนวชายฝั่งที่มีการเปลี่ยนแปลงมากที่สุดจากเหตุการณ์นี้คือ บริเวณแหลมปะการังถึงเขาหลัก จังหวัดพังงา ตะกอนชายหาดจำนวนมากถูกกัดเซาะอย่างรวดเร็วและถูกพัดพาไปสะสมตัวอยู่บนฝั่ง ซึ่งเป็นผลมาจากความรุนแรงของสึนามิ แนวชายฝั่งได้ร่นถอยเข้ามาในแผ่นดิน และปากคลองที่อยู่ติดกับทะเลเปิดกว้างขึ้นกว่าเดิม การศึกษาวิจัยนี้มีเป้าหมายที่จะติดตามกระบวนการฟื้นตัวของพื้นที่ชายหาดหลังจากที่ชายฝั่งมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเหตุการณ์สึนามิ ข้อมูลหลักที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย ข้อมูลโทรสัมผัสและข้อมูลที่ได้จากการสำรวจภาคสนาม การศึกษาแนวชายฝั่งและพื้นที่หาดทรายจะใช้ข้อมูลโทรสัมผัสโดยใช้ข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียมใน 12 ช่วงเวลา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545-2549 การศึกษาการเปลี่ยนแปลงของชายหาดทั้งในแนวระนาบและแนวดิ่ง และลักษณะของตะกอนชายหาด จะใช้ข้อมูลจากการสำรวจภาคสนามทุก 3 เดือนในช่วงเดือน มกราคม ถึง พฤศจิกายน 2549 จากผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของชายหาดทั้งในแนวระนาบและแนวดิ่งในช่วงปี 2549 แสดงให้เห็นว่าเป็นชายฝั่งแบบคงสภาพมีความสมดุลย์กันในเรื่องของการสะสมตัวและการกัดเซาะ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงไปตามฤดูกาล ขนาดของเม็ดตะกอนชายหาดในพื้นที่ศึกษาจะมีขนาดตั้งแต่ทรายหยาบจากทางตอนใต้ที่บริเวณบ้านบางเนียงและลดขนาดลงจนถึงทรายละเอียดทางตอนเหนือที่บลูวิลเลจ ปะการังรีสอร์ท ส่วนประกอบของตะกอนประกอบด้วย แร่ควอร์ซ 60% เศษหอยและเศษปะการัง 35% และส่วนประกอบอื่นๆ 5% และจากผลการวิเคราะห์ข้อมูลโทรสัมผัสและข้อมูลการสำรวจภาคสนามพบว่าแนวชายฝั่งและพื้นที่ชายหาดส่วนใหญ่ได้ฟื้นตัวกลับมาเกือบเท่าเดิมก่อนเกิดเหตุการณ์สึนามิแล้ว แต่พื้นที่ในบริเวณที่เป็นทางน้ำเข้า/ออกที่ติดกับทะเล (ยกเว้นที่บ้านบางเนียง) ยังไม่ฟื้นตัว โดยยังคงสภาพเหมือนเดิมหลังเกิดสึนามิ โดยสรุปแล้วจากการศึกษาจนถึงเดือนพฤศจิกายน พ.ศ. 2549 พื้นที่ที่ถูกกัดเซาะจากเหตุการณ์สึนามิเมื่อปี 2547 ได้ฟื้นสภาพกลับมาแล้ว ประมาณ 90%
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2006
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Earth Sciences
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13359
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1533
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2006.1533
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sumet.pdf7.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.