Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13531
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอารีย์วรรณ อ่วมตานี-
dc.contributor.authorอิสิพร เมฆสถาพรกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2010-10-01T01:41:27Z-
dc.date.available2010-10-01T01:41:27Z-
dc.date.issued2549-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/13531-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาประสบการณ์การบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยจิตเวชโดยใช้ระเบียบวีธีวิจัยเชิงคุณภาพ ตามแนวคิดปรากฏการณ์วิทยาของ Heidegger ผู้ให้ข้อมูล คือ หัวหน้าหอผู้ป่วยจิตเวชที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลรัฐ จำนวน 9 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการบันทึกเทป นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าหอผู้ป่วยจิตเวชมีประสบการณ์การบริหารงานหอผู้ป่วยจิตเวช แบ่งเป็น 4 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) การบริหารความเสี่ยง ประกอบด้วย 4 ประเด็นย่อย คือ เกิดความเสี่ยง เสี่ยงต่อเจ้าหน้าที่ ป้องกันความเสี่ยง และจัดการความเสี่ยงที่เกิดขึ้น 2) การบริหารบุคลากร ประกอบด้วย ประเด็นย่อย คือ บริหารบุคลากรเป็นเรื่องยาก การเสริมสร้างพลังอำนาจ การเอื้ออาทรลูกน้อง การยืดหยุ่น การแบ่งงานกันทำ การมีส่วนร่วมในการปัญหา และการให้ข้อมูลป้อนกลับ 3) การบริหารอัตรากำลัง ประกอบด้วย 2 ประเด็นย่อย คือ ขาดอัตรากำลังและหาอัตรากำลังเพิ่ม และ 4) ภูมิใจกับผลงานen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this qualitative study was to explore administrative experience of psychiatric head nurses. The Heideggerian phenomenological approach was employed in this study. Study participants were included from government hospitals offering a Psychiatric Inpatient Unit. Nine psychiatric head nurse were willing to participate in this study. In-depth interviewed with tape-recorded method was used to collect data. All interviews were transcribed verbatim and analyzed by using content analysis. The study findings of the administrative experience were emerged into 4 categories; 1) Risk management consisting of 4 subcategories: occurring risky events, being risk to staff, preventing risks, and managing risk incident; 2) Human management consisting 7 subcategories: being a problem, empowering, caring, being flexible, sharing work, participating in problem-solving , and providing feedback; 3) Staffing consisting 2 subcategories: lacking staff and seeking more staff; and 4) Being pound of work performance.en
dc.format.extent2126836 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.740-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectพยาบาลen
dc.subjectความรับผิดชอบต่อการบริหารen
dc.titleประสบการณ์การบริหารงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยจิตเวชen
dc.title.alternativeAdministrative of psychiatric head nursesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAreewan.O@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.740-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
isiporn.pdf2.08 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.