Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15013
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPakpachong Vadhanasindhu-
dc.contributor.advisorAchara Chandrachai-
dc.contributor.authorPhongsak Leartharanon-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Commerce and Accountancy-
dc.date.accessioned2011-03-31T08:30:18Z-
dc.date.available2011-03-31T08:30:18Z-
dc.date.issued2006-
dc.identifier.isbn9741433921-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15013-
dc.descriptionThesis (D.B.A)--Chulalongkorn University, 2006en
dc.description.abstractThe purposes of this research are to propose and test the parsimonious model of the impacts of intangible and nontradable firm-specific resources on various aspects of export performance and to examine whether the assumption of resource heterogeneity holds between firms with different performance level. In this research, the focus is on firm's strategy implementation ability, purchasing capability, and export market orientation. This set of variables, allowing firms to have competitive advantage, is hypothesized to be positively related to firm export performance. The sample data was derived from questionnaires answered by 281 exporters in food processing industry. Resource-based theory serves as the theoretical foundation of this research. It suggests that superior firm performance can be explained by possession and utilization of superior firms resources. To test the hypothesis, structural equation modeling technique was employed. In general, the findings, congruent with the theoretical notion, showed that level of strategy implementation ability, and purchasing capability were significantly and positively related to all aspects of export performance measures including export sales growth, export profitability, and export customer retention. Export market orientation was found to be significantly and positively related the two export performance measures of export sales growth, and export customer retention. The significant and positive relationship between export market orientation and export profitability was, however, not found. Possibly, this could be due to the firms' priority in meeting the goals of export sales growth and retaining customers rather than trying to achieve high profitability level at the expense of the former two goals. In addition, customers may be price sensitive to the differences in price among manufacturers, making charging higher price difficult. This research also performed subgroup analysis to statistically compare level of firm resources between firms in high performance group and those in low performance group. Empirical findings revealed that firms in high performance group possessed significantly higher level of firm resources than the firms in the other group. Based on the findings, it was found that companies who treasured the importance of developing their strategy implementation ability, purchasing capability, and export market orientation would have competitive advantage and enjoy superior performance over their rivals. In addition, this research also made a comparison of performance between groups. The two grouping variables are number of export years (high vs. low experience) and number of employees (large vs. small firm). The results revealed no significant difference of performance between groups. The findings thus confirm previous conclusion that it is the difference in firm resources, rather than in experience of firm size, that explains performance differences among firms.en
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ในการเสนอ และทดสอบแบบจำลอง เพื่อศึกษาว่าทรัพยากรจำเพาะขององค์กรที่ไม่สามารถจับต้องได้ และที่ไม่สามารถซื้อขายได้จะมีผลกระทบต่อผลประกอบการส่งออกของบริษัทในด้านต่างๆ หรือไม่ นอกจากนี้ยังทำการศึกษาถึงข้อสมมุติสำคัญของ ทฤษฎีทรัพยากรขององค์กร ที่กล่าวว่า บริษัทที่มีผลประกอบการแตกต่างกันจะมีระดับของทรัพยากรองค์กรที่แตกต่างกันด้วย โดยการวิจัยนี้จะเน้นศึกษาไปที่ทรัพยากรขององค์กรที่สำคัญ 3 ตัว คือ ความสามารถในการใช้กลยุทธ์ทางธุรกิจ ความสามารถในการจัดซื้อ และการใช้แนวคิดด้านการตลาดในการส่งออก ตามสมมุติฐานแล้ว ทรัพยากรเหล่านี้ซึ่งสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันให้แก่บริษัทได้ จะมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อผลประกอบการทางธุรกิจ โดยการศึกษานี้ ใช้ผู้ส่งออกที่อยู่ในอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารเป็นกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย และได้ข้อมูลจากแบบสอบถามจำนวน 281 ชุด การวิจัยนี้ได้ใช้ทฤษฎีทรัพยากรขององค์กรในการศึกษา โดยตามทฤษฎีแล้ว การที่บริษัทใดๆ มีผลประกอบการที่ดีนั้นเป็นผลเนื่องมาจากบริษัทมีทรัพยากรองค์กรที่เหนือกว่าบริษัทอื่นๆ ซึ่งผลจากการศึกษาข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ให้ผลที่สอดคล้องกันกับทฤษฎี โดยพบว่า ระดับของทรัพยากรองค์กรในด้านของความสามารถในการใช้กลยุทธ์ทางธุรกิจ และความสามารถในการจัดซื้อ จะมีผลเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญต่อผลประกอบการในด้านการขยายตัวของยอดส่งออก ผลกำไรของการส่งออก และการรักษาฐานลูกค้าส่งออกของบริษัท อีกทั้งยับพบว่าการใชแนวคิดการตลาดในการส่งออกของบริษัท มีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญต่อการขยายตัวของยอดส่งออก และการรักษาฐานลูกค้าส่งออกของบริษัทอีกด้วย อย่างไรก็ดี การศึกษาครั้งนี้ไม่พบความสัมพันธ์ในเชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญของการใช้แนวคิดการตลาดในการส่งออก ต่อผลกำไรของการส่งออก ทั้งนี้อาจเป็นเพราะบริษัทให้ความสำคัญกับการเพิ่มยอดขาย และการรักษาฐานลูกค้าส่งออก มากกว่ามุ่งเน้นผลสำเร็จทางด้านผลกำไรที่สูงเท่านั้น และอาจเป็นเพราะว่าหากขายสินค้าในราคาที่สูงกว่าคู่แข่งเกินไป ก็อาจทำให้เสียลูกค้าไปได้เพราะลูกค้าไวต่อผลต่างของราคาขายระหว่างผู้ผลิต เมื่อทำการศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม พบว่ากลุ่มบริษัทที่มีผลประกอบการสูง จะมีทรัพยากรองค์กรดังที่กล่าวข้างต้นสูงกว่าอีกกลุ่มบริษัทหนึ่งที่มีผลประกอบการต่ำอย่างมีนัยสำคัญ จากผลการศึกษาเหล่านี้ จึงสรุปได้ว่า บริษัทที่ให้ความสำคัญในการพัฒนาความสามารถในการใช้กลยุทธ์ทางธุรกิจ ความสามารถในการจัดซื้อ และการใช้แนวคิดการตลาดในการส่งออกนั้น จะมีความได้เปรียบในการแข่งขัน และมีผลประกอบการที่เหนือกว่าคู่แข่ง นอกจากนั้นการวิจัยนี้ยังศึกษาว่า ระหว่างบริษัทที่มีประสบการณ์สูง กับบริษัทที่มีประสบการณ์ต่ำ จะมีผลประกอบการที่ต่างกันอย่งมีนัยสำคัญหรือไม่ ผลปรากฏว่าผลประกอบการของทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ในทำนองเดียวกัน ผลประกอบการของกลุ่มบรษัทขนาดใหญ่มิได้แตกต่างกันกับของกลุ่มบริษัทที่มีขนาดเล็กด้วย ซึ่งหมายความว่า ตัวแปรด้านประสบการณ์ของบริษัท และขนาดของบริษัทนั้น มิได้เป็นตัวแปรสำคัญที่สามารถบ่งชี้ได้ว่า บริษัทใดจะมีผลประกอบที่เหนือ หรือ ด้อยไปกว่านั้น หรือ ด้อยไปกว่ากัน ผลอันนี้เป็นการยืนยันว่า ความแตกต่างด้านทรัพยากรองค์กรคือตัวแปรสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อผลประกอบการของบริษัทen
dc.format.extent2912568 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2006.1940-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectStrategic planningen
dc.subjectPurchasingen
dc.subjectExport trading companiesen
dc.titleThe empirical study of the model of exporter's resource-based determinants of performanceen
dc.title.alternativeการศึกษาเชิงประจักษ์ แบบจำลองของปัจจัยด้านทรัพยากรของผู้ส่งออกที่มีผลกระทบต่อผลประกอบการen
dc.typeThesises
dc.degree.nameDoctor of Business Administrationes
dc.degree.levelDoctoral Degreees
dc.degree.disciplineBusiness Administrationes
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorPak.V@acc.chula.ac.th-
dc.email.advisorchandrachai@yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2006.1940-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
phongsak_l.pdf2.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.