Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15295
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสมชาย จงวุฒิเวศย์-
dc.contributor.authorณัฐรส จันทชุม-
dc.contributor.authorประเสริฐ สิทธิเจริญชัย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาปรสิตวิทยา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาปรสิตวิทยา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาปรสิตวิทยา-
dc.date.accessioned2011-06-14T04:00:57Z-
dc.date.available2011-06-14T04:00:57Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15295-
dc.description.abstractCryptosporidium เป็นโปรโตซัวในกลุ่ม coccidia ที่มีความสำคัญทางการแพทย์ เนื่องจากเป็นสาเหตุหนึ่งของภาวะท้องเสียเรื้อรังในผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง โดยเฉพาะกลุ่มผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสเอดส์ เนื่องจากปัจจุบันยังไม่มียาที่มีประสิทธิภาพสำหรับรักษาผู้ติดเชื้อ Cryptosporidium ดังนั้น การเฝ้าระวังตลอดจนการป้องกันการติดเชื้อและการแพร่กระจายของเชื้อจึงมีบทบาทในการควบคุมโรค เนื่องจาก Cryptosporidium ที่เป็นสาเหตุของโรคในมนุษย์มีหลาย species โดยแต่ละ species จะมีรังโรคแตกต่างกัน อย่างไรก็ตามการตรวจหา oocyst ของ Cryptosporidium ในอุจจาระไม่สามารถแยก species ได้ ทั้งนี้ข้อมูลเกี่ยวกับ species ของ Cryptosporidium ที่ก่อโรคผู้ป่วยโรคเอดส์ยังไม่มีการศึกษามาก่อนในประเทศไทย ดังนั้นจึง ทำการรวบรวมตัวอย่างอุจจาระผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสเอดส์และมีอาการท้องเสียจากการติดเชื้อ Cryptosporidium ที่มารับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ระหว่างปี ค.ศ. 1996 ถึง ค.ศ. 2000 ทั้งหมด 20 ตัวอย่าง โดยวิเคราะห์ลำดับนิวคลีโอไทด์ในส่วนของยีนที่สร้างไรโบโซมสับยูนิตเล็ก (small subunit ribosomal RNA, SSUrRNA) และยีนที่สร้างธรอมโบสปอนด์นรีเรทแอทฮีสีพโปรตีน (thrombospondin-related adhesive protein, TRAP-C1) พบว่าสามารถแยก species ของ Cryptosporidium ได้ผลสอดคล้องกัน โดยพบ Cryptosporidium parvum ชนิด human genotype 17 ตัวอย่าง นอกจากนี้ยังพบ Cryptosporidium felis ซึ่งพบในสัตว์จำพวกแมว Cryptosporidium muris พบในหนู และ Cryptosporidium meleagridis ซึ่งพบในสัตว์ปีกอย่างละ 1 ตัวอย่าง ดังนั้นแหล่งที่มาของการติดเชื้อ Cryptosporidium ในกลุ่มผู้ป่วยเอดส์ส่วนใหญ่เกิดจากการติดต่อระหว่างกลุ่มผู้ป่วยเอง ส่วนน้อยเกิดจากการติดต่อจากสัตว์สู่มนุษย์ ผลการศึกษานี้จะเป็นประโยชน์ในการเฝ้าระวังและควบคุมโรคต่อไปen
dc.description.sponsorshipทุนโครงการวิจัยเงินงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2545en
dc.format.extent6403083 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectท้องร่วงen
dc.subjectโรคเอดส์ -- ผู้ป่วยen
dc.subjectยีนen
dc.subjectคริปโตสปอริเดียมen
dc.subjectโปรตีนen
dc.subjectไรโบโซมen
dc.titleการวิเคราะห์ยีนที่สร้างไรโบโซมสับยูนิตเล็กและยีนที่สร้างธรอมโบสปอนดินรีเรท แอทฮีสีพโปรตีนของคริบโตสปอริเดียม พาร์วุม จากผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสเอดส์ในประเทศไทย : รายงานโครงการวิจัยen
dc.title.alternativeAnalysis of genes encoding small subunit ribosomal RNA (SSU rRNA) and Thrombospondin-Related Adhesive Protien (TRAP) of Cryptosporidium parvum from HIV-infected patients in Thailanden
dc.typeTechnical Reportes
dc.email.authorSomchai.Jo@Chula.ac.th-
dc.email.authorNutaros.C@Chula.ac.th-
dc.email.authorPrasert.Si@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Med - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Somchai.pdf6.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.