Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15750
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรพรรณ พนัสพัฒนา-
dc.contributor.authorอุษณีย์ วรรธนะพิศิษฐ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-08-20T06:39:14Z-
dc.date.available2011-08-20T06:39:14Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15750-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractศึกษาแนวความคิด ความเป็นมา และลักษณะของการให้ความคุ้มครองข้อมูลการขึ้นทะเบียนตำรับยาแบบสิทธิเด็ดขาด ตามกฎหมายภายในของประเทศสหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป และความตกลงการค้าเสรีระหว่างประเทศสหรัฐอเมริกากับประเทศต่างๆ ว่าเป็นข้อมูลที่ได้รับการคุ้มครองตามความตกลงทริปส์มาตรา 39 วรรคสามหรือไม่ ตลอดจนเพื่อศึกษาผลดี ผลเสีย รวมทั้งผลกระทบในด้านต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ความคุ้มครองข้อมูลการขึ้นทะเบียนตำรับยาแบบสิทธิเด็ดขาด พร้อมทั้งเสนอแนะแนวทางการให้ความคุ้มครองข้อมูลการขึ้นทะเบียนตำรับยาที่เหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม และขีดความสามารถทางวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีของประเทศไทย ผลการวิจัยพบว่า การให้ความคุ้มครองข้อมูลการขึ้นทะเบียนตำรับยาแบบสิทธิเด็ดขาด ไม่ได้มีที่มาจากความตกลงทริปส์มาตรา 39 วรรคสาม ซึ่งให้ความคุ้มครองข้อมูลการขึ้นทะเบียนตำรับยาในฐานะความลับทางการค้า และไม่ได้ก่อให้เกิดสิทธิแต่เพียงผู้เดียวแต่อย่างใด ในขณะที่การให้ความคุ้มครองข้อมูลการขึ้นทะเบียนตำรับยาแบบสิทธิเด็ดขาด จะก่อให้เกิดผลกระทบหลายประการ เช่น ทำให้ยาสามัญเข้าสู่ตลาดได้ช้า ทำให้การแข่งขันในตลาดยาลดลงและราคายาสูงขึ้น ประชาชนเข้าถึงยาได้ลดลง ผู้ผลิตยาต้นตำรับสามารถขยายสิทธิผูกขาดการจำหน่ายได้นานขึ้น เป็นอุปสรรคต่อมาตรการบังคับใช้สิทธิ ตลอดจนส่งผลกระทบต่อผู้ผลิตยาภายในประเทศด้วย ซึ่งการให้ความคุ้มครองข้อมูลการขึ้นทะเบียนตำรับยา ตามพระราชบัญญัติความลับทางการค้า พ.ศ. 2545 มาตรา 15 ที่ปรากฎอยู่ในปัจจุบันเป็นไปตามพันธกรณีตามความตกลงทริปส์แล้ว ประเทศไทยจึงไม่มีความจาเป็นต้องให้การคุ้มครองแบบสิทธิเด็ดขาดอีก อย่างไรก็ตาม ในกรณีที่ประเทศไทยมีความจาเป็นต้องให้การคุ้มครองในลักษณะดังกล่าว ผู้วิจัยเห็นว่าควรกาหนดการคุ้มครองโดยอาศัยแนวทางความตกลงทริปส์ มาตรา 39 วรรคสามเป็นหลัก ทัง้นี้เพื่อลดผลกระทบเชิงลบในด้านต่างๆ ของการคุ้มครองข้อมูลการขึ้นทะเบียนตำรับยาแบบสิทธิเด็ดขาดให้น้อยที่สุดen
dc.description.abstractalternativeTo study the concepts, historical origins, and nature of data exclusivity provisions under the United States law, European Union law, and those of the Free Trade Agreements between the U.S. and its contracting countries. Specifically, the research explored whether such provisions comply with Article 39.3 of the TRIPS Agreement, and discussed the pros and cons, as well as impacts of data exclusivity if it would be implemented in Thailand. An appropriate approach for the protection of pharmaceutical registration data was then proposed taking into account the economic, social, scientific and technological context of the country. It is found that Article 39.3 of the TRIPS Agreement makes no reference to data exclusivity. It provides protection for pharmaceutical registration data as trade secrets. Nowhere does the TRIPS state that WTO members shall provide exclusive rights to the originator of the data. Adoption of data exclusivity rules can cause several negative effects regarding delayed market entry of generics, reduced market competition, costly innovative drugs, and restricted access to medicine. Data exclusivity can also create additional protection beyond the patent law, affect the practical effectiveness of compulsory licensing and negatively block the local pharmaceutical industry from introducing new generic products to the market. Since Article 15 of the Trade Secrets Act of B.E. 2545 (2002) apparently complies with Article 39.3 of the TRIPS Agreement, Thailand has no obligation and necessity to adopt data exclusivity rule. However, if Thailand would need to adopt such a rule in the future, it is suggested that the data protection legislation regime be drafted based closely on Article 39.3 of the TRIPS Agreement in order to minimize any negative effects of data exclusivity approach.en
dc.format.extent4663004 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1129-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสิทธิบัตรยาen
dc.subjectยา -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen
dc.subjectอุตสาหกรรมยาen
dc.titleการให้ความคุ้มครองข้อมูลการขึ้นทะเบียนตำรับยาแบบสิทธิเด็ดขาดen
dc.title.alternativeLegal protection of pharmaceutical registration data exclusivityen
dc.typeThesises
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1129-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Usanee_wa.pdf4.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.