Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15832
Title: Syntactic and semantic analysis of Mandarin Chinese preposition "gei" and its teaching applications
Other Titles: Syntactic and semantic analysis of Mandarin Chinese preposition "gei" and its teaching applications
Authors: Chi-fen Chen
Advisors: Sasarux Petcherdchoo
Peng Zongping
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Arts
Advisor's Email: Sasarux.P@Chula.ac.th
No information provided
Subjects: Chinese language -- Semantics
Chinese language -- Syntax
Chinese language -- Prepositions
Issue Date: 2008
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: 本論文主要目的有兩項:第一,以“格語法”(Case Grammar)和認知語法“句式語法”(Construction Grammar)的理論為根據來探討“給”的語義和句法功能,並釐清“給”的句式轉換之所以受限的原因;第二,在全面梳理介詞“給”及相關句式的基礎上,為漢語教師提供華語學習者在使用介詞“給”時的偏誤類型和深層原因,以便幫助華語學習者確切地瞭解和正確地掌握介詞“給”的使用原則。本文的研究結果顯示,“給”的句式間轉換受限之因,並非如先前的說法是受到句式中“轉移物為實體或抽象”的限制,而是“轉移物在動作行為發生前存在與否”和“轉移物轉移和到達過程為同步或非同步”這兩個因素決定“給”句式間的轉換是否受到限制。而本文的調查結果發現,泰國大學生使用介詞“給”所產生偏誤的主要原因是“給”字本身具有的複雜語義特徵和多重語法功能以及學習者在習得過程中,受到母語的干擾 。在教學排序方面,本文根據介詞“給”的使用頻率、學習者偏誤率以及“給”的語義、結構困難度等方面訂出介詞“給”的系統內排序,並考量跨語言差距的因素,針對以泰語為母語的學習者提出介詞“給”的教學語法。建議教師在教授介詞“給”時,應先教使用頻繁、結構與語義複雜度低而學習者所熟悉的語法點;而後再教使用不頻繁、結構與語義複雜度高而學習者無法做正面轉換的語法點。
Other Abstract: วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์หลักสองประการ ประการที่หนึ่งได้แก่ การนำทฤษฎีไวยากรณ์การก (Case Grammar) และไวยากรณ์หน่วยสร้าง (Construction Grammar) มาศึกษาความหมายและโครงสร้างไวยากรณ์ของคำบุพบท “GEI” ในภาษาจีนกลาง อีกทั้งยังนำมาใช้ในการอธิบายข้อจำกัดในการเปลี่ยนย้ายตำแหน่งคำบุพบท “GEI” ในรูปประโยคต่างๆ ประการที่สองได้แก่ การศึกษาคำบุพบท “GEI” และรูปประโยคต่างๆ เพื่อให้ผู้สอนทราบถึงสาเหตุและความผิดพลาดในการใช้คำบุพบท “GEI” ในรูปประโยคต่างๆ ทำให้ผู้สอนสามารถอธิบายให้ผู้เรียนเข้าใจหลักการใช้คำบุพบท “GEI” และสามารถใช้คำบุพบท “GEI” ได้อย่างถูกต้อง จากการศึกษาพบว่า ข้อจำกัดในการเปลี่ยนย้ายตำแหน่งคำบุพบท “GEI” ในประโยคนั้น มิได้เป็นเพียงเพราะว่า สิ่งที่ถูกเคลื่อนย้ายเป็นสิ่งอันเป็นรูปธรรมหรือนามธรรม ตามที่เคยอธิบายกันไว้ แต่เป็นเพราะว่า สิ่งของที่เคลื่อนย้ายนั้นมีอยู่ก่อนการเกิดกริยานั้นหรือไม่ และสิ่งของที่ถูกเคลื่อนย้ายกับการเคลื่อนไปถึงจุดหมายปลายทางนั้นเกิดขึ้นในเวลาเดียวกันหรือไม่ เป็นปัจจัยกำหนดข้อจำกัดในการเปลี่ยนย้ายตำแหน่งคำบุพบท “GEI” ในประโยค นอกจากนี้ผลจากการสำรวจแบบสอบถามพบว่า สาเหตุที่นักศึกษาไทยใช้คำบุพบท “GEI” ผิดพลาดนั้นเนื่องจากความซับซ้อนทางความหมายและลักษณะทางไวยากรณ์ของคำบุพบท “GEI” รวมทั้งอิทธิพลของภาษาไทยอันเป็นภาษาแม่ของผู้เรียน ในการจัดลำดับการเรียนการสอนคำบุพบท “GEI” นั้น ผู้วิจัยได้เรียงลำดับจากความถี่ในการใช้ อัตราข้อผิดพลาดในการใช้ ระดับความยากของความหมายและโครงสร้างคำบุพบท “GEI” พร้อมทั้งปัจจัยความแตกต่างทางภาษา โดยมุ่งเน้นเสนอไวยากรณ์เพื่อการเรียนการสอนคำบุพบท “GEI” สำหรับผู้เรียนไทยโดยเฉพาะ ผู้วัจัยเสนอแนะให้ผู้สอนเริ่มต้นสอนคำบุพบท “GEI” ในรูปประโยคที่มีความถี่ในการใช้สูง ความหมายและโครงสร้างไม่ซับซ้อนและเป็นรูปประโยคที่ผู้เรียนมีความคุ้นเคย จากนั้นจึงสอนโครงสร้างไวยากรณ์ที่มีความถี่ในการใช้น้อย ความหมายและโครงสร้างซับซ้อนและคำบุพบท“GEI”ในรูปประโยคที่ผู้เรียนไม่สามารถเปลี่ยนย้ายตำแหน่งคำบุพบท “GEI”ได้อย่างถูกต้อง
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2008
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Chinese as a Foreign Language
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15832
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1805
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2008.1805
Type: Thesis
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chi-fen chen.pdf6.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.