Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15958
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorNattaya Ngamrojanavanich-
dc.contributor.advisorSarintip Sooksai-
dc.contributor.authorManeerat Limsuwatthanathamrong-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2011-09-24T14:34:39Z-
dc.date.available2011-09-24T14:34:39Z-
dc.date.issued2009-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/15958-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2009en
dc.description.abstractThe percentage of fat of Perinereis nuntia farm-raised sandworm aged 8 months (20.96±0.73%) was higher than those of aged 2, 4 and 6 months (17.35±0.08%), while that of P. nuntia wild-caught sandworm was 13.43±2.83%. The most abundant fatty acids of the farm-raised sandworm were C16:0, C18:1 n-9 and C18:2 n-6 while those of the wild-caught were C16:0, C18:1 n-7 and C18:0. The ratio of SFA : MUFA : PUFA of all of the farm-raised was 1.3 : 1.0 : 1.0 while the ratio of those of the wild-caught in summer and winter season were 4.0 : 2.2 : 1.0 and 2.3 : 1.5 : 1.0, respectively. The ratio of ARA : EPA : DHA and n-3 : n-6 fatty acid of the farm-raised sandworm were 1.6 : 1.3 : 1.0 and 1.0 : 3.0, to stand in aged 4, 6 and 8 months, whereas ratio of those of the wild-caught were different. Total fatty acid in age 6 months of P. aibuhitensis was higher than that of P. nuntia and P. quatrefagesi. The ratio of SFA : MUFA : PUFA and n-3 : n-6 fatty acid of P. aibuhitensis and P. quatrefagesi of farm-raised were similar to those of P. nuntia. The major component of the lipid was phospholipids, especially phosphatidylcholine (PC). Cholesterol of P. nuntia farm-raised sandworm was (60 mg/ 100g ww) less than that of the wild-caught (81 mg/ 100g ww), while in difference species was slightly different.en
dc.description.abstractalternativeจากงานวิจัยนี้ พบว่า ปริมาณไขมันในเพรียงทราย Perinereis nuntia จากฟาร์มเลี้ยงที่ช่วงอายุ 8 เดือน(20.96±0.73%) มีปริมาณสูงกว่าในเพรียงทรายที่ช่วงอายุ 2, 4 และ 6 เดือน (17.35±0.08%) ในขณะที่ปริมาณไขมันในเพรียงทรายสายพันธุ์ดังกล่าวที่จับจากธรรมชาติมีปริมาณเฉลี่ย13.43±2.83% สำหรับการวิเคราะห์ชนิดของกรดไขมัน พบว่าชนิดของกรดไขมันที่พบมากที่สุดในเพรียงทรายจากฟาร์มเลี้ยงคือ C16:0, C18:1 n-9 และ C18:2 n-6 และในเพรียงทรายจากธรรมชาติ คือ C16:0, C18:1 n-7 และ C18:0 เมื่อพิจารณาอัตราส่วนของกรดไขมันชนิด SFA : PUFA : MUFA ในเพรียงทรายจากฟาร์มเลี้ยงพบว่ามีอัตราส่วนเป็น 1.3 : 1.0 : 1.0 และในเพรียงทรายที่จับจากธรรมชาติในช่วงฤดูร้อนและฤดูหนาวเป็น 4.0 : 2.2 : 1.0 และ 2.3 : 1.5 : 1.0 ตามลำดับ สำหรับอัตราส่วนของกรดไขมันชนิด ARA : EPA : DHA และกรดไขมันในกลุ่ม n-3 : n-6 ในเพรียงทรายจากฟาร์มเลี้ยงมีค่าเป็น 1.6 : 1.3 : 1.0 และ 1.0 : 3.0 ตามลำดับ ซึ่งอัตราส่วนที่ได้ค่อนข้างคงที่ในช่วงอายุ 4, 6 และ 8 เดือน ในขณะที่อัตราส่วนดังกล่าวที่พบในเพรียงทรายจากธรรมชาติมีค่าที่แตกต่างกันไป สำหรับผลรวมของกรดไขมันในเพรียงทรายจากฟาร์มเลี้ยงอายุ 6 เดือนสายพันธุ์ P. aibuhitensis มีปริมาณสูงกว่าในเพรียงทรายสายพันธุ์ P. nuntia และ P. quatrefagesi อัตราส่วนของกรดไขมันชนิด SFA : PUFA : MUFA และกรดไขมันในกลุ่ม n-3 : n-6 ในเพรียงทรายสายพันธุ์ P. aibuhitensis และ P. quatrefagesi จากฟาร์มเลี้ยง พบว่ามีค่าใกล้เคียงกับสายพันธุ์ P. nuntia เมื่อทำการวิเคราะห์องค์ประกอบของลิปิดที่พบในเพรียงทรายทั้ง 3 สายพันธุ์พบว่า องค์ประกอบที่พบมากที่สุดคือ ฟอสโฟลิปิด ชนิดฟอสฟาติดิลคอลีน (PC) สำหรับ ปริมาณของคอเลสเตอรอล ในเพรียงทรายสายพันธุ์ P. nuntia จากฟาร์มเลี้ยง (60 มก./ 100 กรัมน้ำหนักเปียก) มีค่าน้อยกว่าเพรียงทรายจากธรรมชาติ (81 มก./ 100 กรัมน้ำหนักเปียก) ในขณะที่ปริมาณดังกล่าวในเพรียงทรายสายพันธุ์อื่นมีค่าต่างกันเพียงเล็กน้อยen
dc.format.extent2051294 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1942-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectArenicolidaeen
dc.subjectFatty acidsen
dc.subjectPerinereis sp.en
dc.titleQualitative and quantitative analyses of fatty acid and steroid in sandworms Perinereis sp.en
dc.title.alternativeการวิเคราะห์เชิงคุณภาพและเชิงปริมาณของกรดไขมันและสเตอรอยด์ในเพรียงทราย Perinereis sp.en
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Sciencees
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineChemistryes
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisornnattaya@chula.ac.th-
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1942-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
maneerat_li.pdf2 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.