Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16047
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจิราพร เกศพิชญวัฒนา-
dc.contributor.authorแพนนี่ ตรีวิเชียร-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-09-29T11:08:49Z-
dc.date.available2011-09-29T11:08:49Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16047-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทำนาย (Predictive research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ 6 ด้านของนายทหารนอกราชการ และความสามารถในการพยากรณ์ของอายุ สถานภาพสมรส รายได้ การเป็นสมาชิกสมาคม ชั้นยศเกษียณอายุ การรับรู้ภาวะสุขภาพ การรับรู้ประโยชน์ของการกระทำ การรับรู้อุปสรรคของการกระทำ การรับรู้ความสามารถของตน และอิทธิพลระหว่างบุคคล โดยใช้หลักแนวคิดทฤษฏีพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ (Pender, 2006) กลุ่มตัวอย่างคือ นายทหารนอกราชการที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปี ขึ้นไปที่รับเบี้ยหวัดบำนาญ ณ กรมการเงินทหารบก จานวน 286 คน เลือกโดยการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามประสบการณ์และคุณลักษณะของบุคคล พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ การรับรู้ประโยชน์และการรับรู้อุปสรรคของการกระทำ การรับรู้ความสามารถของตน และอิทธิพลระหว่างบุคคล ผ่านการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและความเที่ยงแล้ว มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .80, .76, .72, .81 และ .82 ตามลาดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนายทหารนอกราชการโดยรวมเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง (x-bar = 3.40) 2. อายุ การรับรู้อุปสรรค การรับรู้ประโยชน์ของการกระทำ อิทธิพลระหว่างบุคคล การรับรู้ความสามารถของตน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .126, .219, .318, .323, .405 ตามลาดับ) 3. การรับรู้ความสามารถของตน การรับรู้ประโยชน์ของการกระทำ สามารถร่วมกันพยากรณ์ พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนายทหารนอกราชการ ได้ 18.2% (R [superscript 2] = 18.2) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สร้างสมการพยากรณ์ในรูปแบบของคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้ Zพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนายทหารนอกราชการ = .328 Zการรับรู้ความสามารถของตน + .155 Z การรับรู้ประโยชน์ของการกระทำen
dc.description.abstractalternativeTo study six dimensions of health promoting behaviors among Thai military retirees and predicting factors of health promoting behaviors based on Health Promoting theory of Pender (2006). The research samples consisted of 286 military retirees aged 60 years and older receiving a pension from The Army Finance Department. The samples were selected by multi-stage sampling method. The research instruments were questionnaires regarding experiences and personal data, Health Promoting Behaviors, Perceived Benefits and Barriers of Action, Perceived Self-Efficacy, and Interpersonal Influences Questionnaires. These questionnaires were tested for content validity and reliability and the Cronbach’s alpha coefficients were .80, .76, .72, .81, and .82 respectively. Statistical methods of frequency, mean, standard deviation, and stepwise multiple regression were used to analyze data. Major findings were as followed: 1. The average of health promoting behaviors among military retirees were at middle level (x-bar= 3.40). 2. Age, perceived barriers to action, interpersonal influences, self-efficacy were positively associated with health promoting behaviors (p<.05). 3. Factors significantly predicted health promoting behaviors among military retirees were perceived self-efficacy and perceived benefits of action. These predictors were accounted for 18.2 percents of variance (R [superscript 2] = .182) The study equation was as follow: Z Health Promoting Behaviors = .328 Z Perceived Self-Efficacy + .155 Z Perceived Benefits of Action.en
dc.format.extent3620685 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.834-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการส่งเสริมสุขภาพen
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพen
dc.subjectผู้สูงอายุen
dc.subjectการเกษียณอายุen
dc.titleปัจจัยทำนายพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนายทหารนอกราชการen
dc.title.alternativeFactors predicting health promoting behaviors among the Thai military retireesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorwwattanaj@ yahoo.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.834-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Panny_Tr.pdf3.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.