Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16069
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorTitinun Auamnoy-
dc.contributor.authorAnongnart Siemmai-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Pharmaceutical Sciences-
dc.date.accessioned2011-10-02T16:01:35Z-
dc.date.available2011-10-02T16:01:35Z-
dc.date.issued2009-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16069-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2009en
dc.description.abstractThe objectives of this study were to (1) Compare means of calories burnt by exercise, medication compliance, eating behavior score, knowledge about hypertension, age and blood pressure between gender. (2) Find correlations between calories burnt by exercise, medication compliance, eating behavior score, knowledge about hypertension, age and blood pressure. (3) Estimate hierarchical stepwise multiple regression analysis (MRA) model to predict blood pressure. A retrospective research by face to face interview and accessing clinical data were employed to investigate relationship between health behavior factors namely—calories burnt by exercise, medication compliance, eating behavior score, demographic data and blood pressure of 200 hypertensive patients at Saraburi hospital 2009, randomly generated by computer. This study found that total sample size of 200 (100%) hypertensive patients, mostly 118 (59%) were female, 82 (41%) were male with average age 55.21 ± 12.01 years, average calories burnt per week 2787.24 ± 141.61, average medication compliance score 7.41 ± 1.93, average eating behavior score 6.33 ± 1.14 average Systolic blood pressure 150.24 ± 18.49 and average Diastolic blood pressure 89.40 ± 9.15. Cronbach’s Alpha coefficient of Sorofman’s Compliance scale for constructs “right time” and “right amount” were 0.7978 and 0.7896 respectively and Auamnoy Eating Behavior Scale was 0.7915. One Way ANOVA confirmed that blood pressure, medication compliance, knowledge about hypertension, age and calories burnt by exercise between male and female were not significantly different (p > 0.05). But eating behavior score between male and female were significantly different (p = 0.05). Pearson’s product moment correlation confirmed that age and eating behavior score were significantly positively correlated with Systolic blood pressure (r =*+0.16, **+0.59, R² = 0.03, 0.35 with p = 0.02, 0.00 respectively). Calories burnt by exercise and medication compliance were significantly negatively correlated with Systolic blood pressure (r = **-0.81, **-0.98, R² = 0.66, 0.96 with p = 0.00, 0.00 respectively). Correlation confirmed that age, calories burnt by exercise and medication compliance significantly inversely related with Diastolic blood pressure (r = **-0.19, **-0.43, **-0.60, R² = 0.04, 0.18, 0.36 with p = 0.00, 0.00, 0.00 respectively) but eating behavior score significantly related with Diastolic blood pressure (r =**+0.53, R² = 0.28 with p = 0.00). Hierarchical stepwise multiple regression analysis estimated the prediction equations. The three most significant variables those predicted Systolic blood pressure and Diastolic blood pressure were: medication compliance (Beta = -0.90,-0.70), eating behavior score (Beta = 0.82, 0.72) and calories burnt by exercise (Beta = -0.11, -0.29) P = 0.00, 0.00, 0.00 R² = 0.58, 0.55) respectively. Conclusion: eating behavior, calories burnt by exercise and medication compliance were three significantly most influence factors for predicting blood pressure.en
dc.description.abstractalternativeวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ (1) เพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของแคลอรี่ที่ถูกเผาผลาญด้วยการออกกำลังกาย การใช้ยาตามสั่ง พฤติกรรมการรับประทาน ความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง อายุ และระดับความดันโลหิตระหว่างเพศ (2) เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างแคลอรี่ที่ถูกเผาผลาญด้วยการออกกำลังกาย การใช้ยาตามสั่ง พฤติกรรมการรับประทาน ความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง อายุ และระดับความดันโลหิต (3) เพื่อหาแบบจำลองการทำนายระดับความดันโลหิตด้วย Hierarchical stepwise multiple regression analysis (MRA) การศึกษานี้เป็นวิจัยเชิงสํารวจโดยการสัมภาษณ์และข้อมูลทางคลินิกของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 200 รายที่มารับการตรวจรักษาที่โรงพยาบาลสระบุรี เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยพฤติกรรมสุขภาพได้แก่ แคลอรี่ที่ถูกเผาผลาญด้วยการออกกำลังกาย การใช้ยาตามสั่ง พฤติกรรมการรับประทาน ความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง ข้อมูลประชากรศาสตร์ และระดับความดันโลหิต กลุ่มตัวอย่างสุ่มโดยคอมพิวเตอร์ ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 200 ราย ส่วนใหญ่เป็นหญิง 118 คน (ร้อยละ 59) ชาย 82 คน (ร้อยละ 41) อายุเฉลี่ย 55.21 ± 12.01 ปี การเผาผลาญแคลอรี่ด้วยการออกกำลังกายเฉลี่ยต่ออาทิตย์ 2,787.24 ± 141.61 คะแนนการใช้ยาตามสั่งเฉลี่ย 7.41 ± 1.93 คะแนนเรื่องพฤติกรรมการรับประทานเฉลี่ย 6.33 ± 1.14 ระดับความดันโลหิตค่าบนเฉลี่ย 150.24 ± 18.49 มิลลิเมตรปรอทและระดับความดันโลหิตค่าล่างเฉลี่ย 89.40 ± 9.15 มิลลิเมตรปรอท ค่า Cronbach’s alpha coefficient ของ Sorofman ในมิติ “การใช้ยาตรงตามเวลา” และมิติ “การใช้ยาตรงตามปริมาณ” มีค่า 0.7978 และ 0.7896 ตามลำดับและค่าของ Auamnoy Eating Behavior Scale เท่ากับ 0.7915 ใช้ ANOVA เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของระดับความดันโลหิต การใช้ยาตามสั่ง ความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง ปริมาณแคลอรี่ที่ถูกเผาผลาญด้วยการออกกำลังกาย และอายุ ระหว่างหญิงและชาย พบว่าไม่มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p > 0.05) แต่พบว่าพฤติกรรมการรับประทานมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.05) Pearson’s correlation พบว่า อายุและพฤติกรรมการรับประทานมีความสัมพันธ์แบบผันตามอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับระดับความดันโลหิตค่าบนของผู้ป่วย (r =*+0.16, **+0.59, R² = 0.03, 0.35 ด้วยค่า p = 0.02, 0.00 ตามลำดับ) ส่วนแคลอรี่ที่ถูกเผาผลาญด้วยการออกกำลังกายและการใช้ยาตามสั่งมีความสัมพันธ์แบบผกผันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับระดับความดันโลหิตค่าบนของผู้ป่วย (r = **-0.81, **-0.98, R² = 0.66, 0.96 ด้วยค่า p = 0.00, 0.00 ตามลำดับ) และ Pearson’s correlation พบว่าอายุ แคลอรี่ที่ถูกเผาผลาญด้วยการออกกำลังกายและการใช้ยาตามสั่งมีความสัมพันธ์แบบผกผันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับระดับความดันโลหิตค่าล่างของผู้ป่วย (r = **-0.19, **-0.43, **-0.60, R² = 0.04, 0.18, 0.36 ด้วยค่า p = 0.00, 0.00, 0.00 ตามลำดับ) แต่พฤติกรรมการรับประทานมีความสัมพันธ์แบบผันตามกับระดับความดันโลหิตค่าล่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r =**+0.53, R² = 0.28, p = 0.00) MRA พบว่าการใช้ยาตามสั่ง (Beta = -0.90, -0.70) พฤติกรรมการรับประทาน (Beta = 0.82, 0.72) และแคลอรี่ที่ถูกเผาผลาญด้วยการออกกำลังกาย (Beta = -0.11, -0.29) P = 0.00, 0.00, 0.00 R² = 0.58, 0.55) เป็นปัจจัยที่เป็นตัวทำนายระดับความดันโลหิตทั้งค่าบนและค่าล่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ บทสรุป: พฤติกรรมการรับประทาน แคลอรี่ที่ถูกเผาผลาญด้วยการออกกำลังกายและการใช้ยาตามสั่ง เป็น 3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลมากอย่างมีนัยสำคัญในการทำนายระดับความดันโลหิตen
dc.format.extent1928784 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1974-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectBlood pressureen
dc.subjectHypertensionen
dc.subjectHypertension -- Exercise therapyen
dc.titleBlood pressure prediction model for hypertensive patients at Saraburi hospital in 2009en
dc.title.alternativeแบบจำลองการทำนายระดับความดันโลหิตในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่โรงพยาบาลสระบุรีในปี 2552en
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Sciencees
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineSocial and Administrative Pharmacyes
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorNo information provided-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1974-
Appears in Collections:Pharm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
anongnart_si.pdf1.88 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.