Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16414
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุนิดา ปรีชาวงษ์-
dc.contributor.authorวราภรณ์ สิทธาจารย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2011-12-22T10:23:55Z-
dc.date.available2011-12-22T10:23:55Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/16414-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบศึกษาความสัมพันธ์เชิงทำนาย เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดวงตา ของนักศึกษามหาวิทยาลัยที่ใช้เลนส์สัมผัสในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างคือ นิสิตนักศึกษาที่กำลังศึกษาในระดับปริญญาตรีในมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 422 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความรู้เกี่ยวกับการใช้เลนส์สัมผัส แบบสอบถามการรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระจกตาอักเสบ การรับรู้ความรุนแรงของโรคกระจกตาอักเสบ การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดวงตา การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดวงตา การรับรู้ความสามารถของตนเองในการปฏิบัติพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดวงตา และพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดวงตาของนักศึกษามหาวิทยาลัย ที่ใช้เลนส์สัมผัส ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน และมีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ 0.81, 0.91, 0.88, 0.87, 0.80, 0.88 และ 0.94 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย สถิติค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน สมการ ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า 1. การรับรู้ความสามารถของตนเองในการปฏิบัติพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดวงตา การรับรู้ความรุนแรงของโรคกระจกตาอักเสบ การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดวงตา การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเป็นโรคกระจกตาอักเสบ การได้รับข้อมูลข่าวสารจากจักษุแพทย์ และความรู้เกี่ยวกับการใช้เลนส์สัมผัส มีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดวงตา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) 2. การรับรู้ความสามารถของตนเอง การรับรู้ความรุนแรงของโรค การรับรู้ประโยชน์ของการปฏิบัติพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดวงตา การได้รับข้อมูลข่าวสารจากจักษุแพทย์ และการได้รับข้อมูลข่าวสารจากเพื่อน สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดวงตาได้ 56.9% อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (R[superscript 2] = .569)en
dc.description.abstractalternativeTo examine the predictors of eye care behaviors among university students wearing contact lenses in Bangkok metropolitan. Using multi-stage random sampling technique, 422 university students wearing contact lenses participated in this study. Selfadministered questionnaires detailing demographic data, knowledge of contact lens use, perceived susceptibility of keratitis, perceived severity of keratitis, perceived benefit of eye care behaviors, perceived barrier of eye care behaviors, self-efficacy of eye care behaviors, and eye care behaviors. Content validity of the questionnaires were validated by five experts. Internal consistency reliability determined by Cronbach's alpha coefficients were 0.81, 0.91, 0.88, 0.87, 0.80, 0.88, and 0.94 respectively. Data were analyzed using descriptive statistics, Pearson’s product moment correlation and Stepwise multiple regression. The results were as follows: Self-efficacy of eye care behaviors, perceived severity of keratitis, perceived benefit of eye care behaviors, perceived susceptibility of keratitis, receiving information from Ophthalmologist, and knowledge of contact lens use were positively related to eye care behaviors (p <.01). Self-efficacy of eye care behaviors, perceived severity of keratitis, perceived benefit of eye care behaviors, receiving information from Ophthalmologist, and from friends were significant predictors and accounted for 56.9% of the variance in eye care behaviors.en
dc.format.extent1937662 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1086-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectตา -- การดูแลและสุขวิทยาen
dc.subjectกระจกตาen
dc.subjectเลนส์สัมผัสen
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพen
dc.titleปัจจัยทำนายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพดวงตาของนักศึกษามหาวิทยาลัยที่ใช้เลนส์สัมผัสในเขตกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativePredictors of eye care behaviors among umiversity students wearing contact lenses in Bangkok Metropolitanen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSunida.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1086-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
waraporn_si.pdf1.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.