Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17134
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกัญญดา ประจุศิลป-
dc.contributor.authorสมจิตร์ ริ้วมงคล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-02-28T14:54:15Z-
dc.date.available2012-02-28T14:54:15Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17134-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารงานในองค์การพยาบาล และเปรียบเทียบการบริหารงานในองค์การพยาบาลระหว่างการรับรู้ของผู้บริหารการพยาบาลกับพยาบาลประจําการ โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่างคือผู้บริหารการพยาบาล จำนวน 287 คน และพยาบาลประจำการจำนวน 377 คน ในโรงพยาบาลศูนย์ ที่ได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามการบริหารงานในองค์การพยาบาล ที่ได้ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และวิเคราะห์ความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ค่าเท่ากับ .98 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยโดยใช้สถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. การบริหารงานในองค์การพยาบาลตามการรับรู้ของผู้บริหารการพยาบาล และพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์อยู่ในระดับสูง ([Mean]= 3.69, SD = .59 และ [Mean] = 3.78, SD = .53 ตามลำดับ) 2. การบริหารงานในองค์การพยาบาลตามการรับรู้ของผู้บริหารการพยาบาลต่ำกว่าพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were to study the nursing organization management at regional hospital and medical centers, and to compare the perceptions of nursing organization management between nurse administrators and staff nurses. The subjects were 287 nurse administrators and 377 staff nurses which selected by multi-stage sampling. Research instrument was the nursing organization management. This questionnaire was tested for the content validity and reliability. The Cronbach,s alpha coefficients of nursing organization management for nursing administrators and staff nurses was .98 respectively. Statistical methods used for data analysis was means, standard deviation and t-test. Major findings were as follows: 1. The nursing organization management as perceived by nursing administrators and staff nurses at regional hospital and medical centers were at high level ([Mean] =3.69, SD = .59 and [Mean] = 3.78, SD = .53, respectively). 2. The nursing organization management as perceived by nursing administrators was less than the nursing organization management by staff nurses at p<.05 levelen
dc.format.extent2159047 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1034-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectโรงพยาบาล--การบริหารen
dc.subjectการบริหารen
dc.subjectการพยาบาล--การบริหารen
dc.titleการบริหารงานในองค์การพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์en
dc.title.alternativeNursing organization management at Regional Hospital and Medical Centersen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSukunya.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1034-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
somjit_ru.pdf2.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.