Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17440
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวันชัย ตรียะประเสริฐ-
dc.contributor.advisorอิศรางค์ นุชประยูร-
dc.contributor.authorวรุณรัตน์ สุกาญจนาเศรษฐ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-07T05:16:30Z-
dc.date.available2012-03-07T05:16:30Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/17440-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractวัตถุประสงค์: เพื่อหาอัตราการกำจัดยาเซฟไตรอะโซน ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการกำจัดยาเซฟไตรอะโซนและแบบจำลองทางเภสัชจลนศาสตร์ที่ใช้หาอัตราการกำจัดยาเซฟไตรอะโซนในกลุ่มประชากรผู้ป่วยโรคเบต้า-ธาลัสซีเมีย/ฮีโมโกลบินอี วิธีดำเนินการวิจัย: อาสาสมัครผู้ป่วยโรคเบต้า-ธาลัสซีเมีย/ฮีโมโกลบินอีได้รับการคัดเลือกเข้าร่วมการวิจัยจำนวน 50 คน อาสาสมัครได้รับการหยดยาเซฟไตรอะโซนขนาด 1 กรัม เข้าเส้นเลือดดำนาน 30 นาที และเจาะเลือดหลังจากที่เริ่มให้ยา 15 นาที, 30 นาที, 40 นาที, 2 ชั่วโมง, 8 ชั่วโมง และ 24 ชั่วโมง ตามลำดับ นำตัวอย่างเลือดมาวิเคราะห์หาความเข้มข้นของยาเซฟไตรอะโซนในพลาสมา โดยใช้หลักการโครมาโทกราฟฟี่แบบของเหลวแรงดันสูง ค่าความเข้มข้นของยาเซฟไตรอะโซนในพลาสมา ถูกนำมาวิเคราะห์หาแบบจำลองทางเภสัชจลนศาสตร์ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ Nonlinear Mixed Effect Model (NONMEM) วิเคราะห์หาปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการกำจัดยาเซฟไตรอะโซน และสร้างแบบจำลองทางเภสัชจลนศาสตร์ที่เพิ่มปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการกำจัดยา ผลการศึกษา: ค่าอัตราการกำจัดยาเซฟไตรอะโซนของกลุ่มประชากรมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 0.595 ลิตรต่อชั่วโมง ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการกำจัดยาเซฟไตรอะโซน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ คือ เพศ (p< 0.05), น้ำหนัก (p< 0.05) และระดับอะลานีน ทรานส์เฟอเรส(p< 0.05) แบบจำลองทางเภสัชจลนศาสตร์ที่เพิ่มปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการกำจัดยามีความแตกต่างจากแบบจำลองทางเภสัชจลนศาสตร์เบื้องต้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.05) และสูตรการทำนายค่าอัตราการกำจัดยาเซฟไตรอะโซน ในกลุ่มประชากรผู้ป่วยโรคเบต้า-ธาลัสซีเมีย/ฮีโมโกลบินอี คือ CL = 0.3320 x EXP(0.0096 Weight) x (1+0.0547Gender) + 0.0551 (Alanine aminotransferase/49) โดยที่ Gender=0 (เพศหญิง) และ Gender=1 (เพศชาย) สรุปผลการศึกษา: ได้แบบจำลองทางเภสัชจลนศาตร์ ที่สามารถทำนายค่าอัตราการกำจัดยาเซฟไตรอะโซน สำหรับผู้ป่วยไทยโรคเบต้า-ธาลัสซีเมีย/ฮีโมโกลบินอีen
dc.description.abstractalternativeObjectives: To determine ceftriaxone population clearance, to evaluate factors influencing ceftriaxone clearance, and to develop pharmacokinetic model for prediction ceftriaxone clearance in β-thalassemia/ hemoglobin E patient. Method: Fifty β-thalassemia/hemoglobin E patients were enrolled in this study and received ceftriaxone 1 gram by intravenous infusion over 30 minutes. Blood samples were corrected at 15, 30, 40 minutes, 2, 8, and 24 hours after drug administration. Ceftriaxone plasma concentrations were assayed by high performance liquid chromatography technique. All plasma concentration values were analyzed for the population pharmacokinetic modeling using Nonlinear Mixed Effect Model (NONMEM) computer program. Consequently, the influence of covariates on ceftriaxone clearance were investigated. The pharmacokinetic model which add significant covariate to base model was developed. Result: The average ceftriaxone clearance value was 0.595 L/h, based on population pharmacokinetic model (base model, no covariates). The apparent influence of significant covariates on ceftriaxone clearance were gender (p<0.05), weight (p<0.05) and alanine aminotransferase (p<0.05). Pharmacokinetic equation, based on population pharmacokinetic model (full model, add covariates) to predict ceftriaxone clearance in β-thalassemia/hemoglobin E patient is CL = 0.3320 x EXP(0.0096Weight) x (1+0.0547Gender) + 0.0551 (Alanine aminotransferase/49) where gender = 0 for female and gender = 1 for male. Conclusion: A developed population pharmacokinetic model will be useful to predict ceftriaxone clearance in Thai β-thalassemia/hemoglobin E patienten
dc.format.extent1326978 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.253-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectธาลัสสีเมียen
dc.subjectเซฟไตรอะโซนen
dc.subjectเภสัชจลนศาสตร์en
dc.titleอัตราการกำจัดยาเซฟไตรอะโซน ในกลุ่มประชากรผู้ป่วยโรคเบต้า-ธาลัสซีเมีย/ฮีโมโกลบินอีen
dc.title.alternativeCeftriaxone population clearence in β-Thalassemia/Hemoglobin E Patienten
dc.typeThesises
dc.degree.nameเภสัชศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเภสัชกรรมคลินิกes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorWanchai.T@Chula.ac.th-
dc.email.advisorIssarang.N@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.253-
Appears in Collections:Pharm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
waroonrat_su.pdf1.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.