Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1779
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศิริชัย ศิริกายะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาการสื่อสารมวลชน-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2006-08-15T08:46:50Z-
dc.date.available2006-08-15T08:46:50Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1779-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อทราบถึงการใช้สื่อมวลชนของชาวบ้านดอยแช่ ตำบลทากาศ อำเภอแม่ทา จังหวัด ลำพูน และเข้าใจถึงโครงสร้างต่าง ๆ ของชาวบ้านที่มีผลต่อการแพร่กระจายข่าวสารเพื่อการพัฒนา โครงสร้างต่าง ๆ ที่นำมาศึกษาก็คือ โครงสร้างการสื่อสารหรือเครือข่ายการสื่อสาร โครงสร้างมิตรสหาย และโครงสร้างความรู้ วิธีการศึกษาใช้วิธีการสำรวจโดยแบบสอบถามที่ผู้วิจัยได้ทำขึ้น ครูโรงเรียนประจำหมู่บ้านเป็นผู้เก็บรวบรวมข้อมูล โดยมีผู้วิจัยเป็นผู้ช่วยเหลือให้คำแนะนำ การเก็บรวบรวมข้อมูลใช้เวลาทั้งสิ้น 1 เดือน เก็บทุกบ้านในหมู่บ้านจากหัวหน้าครัวเรือน รวมจำนวนบ้านทั้งหมด 117 บ้าน ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ปรากฏว่า ชาวบ้านดอยแช่ใช้สื่อมวลชนประเภทวิทยุมากที่สุด การใช้โทรทัศน์มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น ผู้วิจัยได้แสดงโครงสร้างที่ 3 อย่าง ออกมาในรูปของเครือข่ายการสื่อสาร เครือข่ายมิตรสหาย และเครือข่ายให้ความรู้ ซึ่งมีความสลับซับซ้อนอย่างมาก นอกจากนี้ เครือข่ายแบบต่าง ๆ ดังกล่าวยังมีลักษณะที่แตกต่างกันด้วย ผู้วิจัยยังได้คำนวณหาดัชนีโครงสร้างของการสื่อสารมาประกอบด้วยเพื่อให้เข้าใจโครงสร้างต่าง ๆ ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น การที่เข้าใจโครงสร้างทั้งสามลักษณะของหมู่บ้านดอยแช่นี้ เชื่อได้ว่า ถ้านำเอาไปใช้ในการเผยแพร่ข่าวสารแล้ว ข่าวสารเกี่ยวกับการพัฒนาจะ "ไหล" เข้าสู่ชาวบ้านได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพen
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research were to know the use of mass media in Ban Doi Chair, Lumphon Province, and to understand the village's communication structures which affected the progress of development activities. The emphasis was place on the discovery of three structures : communication structure, friendship structure, and knowledge authority structure. The data collection was done by the local village teachers in a month. All 177 heads of households were interviews. The findings were that the people of Ban Doi Chair most frequently used radio. However, television has increased its popularity recently. The research indentified three structures which were very complex. The three structures were different. The indexes of the structures were provided in order to make more clear understanding of structures. The researcher concluded that to understand these three structures would make the information diffusion about the development activities smoothly flown in Ban Doi Chair.en
dc.format.extent22880230 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสื่อมวลชนในการพัฒนาชุมชนen
dc.subjectสื่อมวลชน--ไทยen
dc.subjectการสื่อสาร--ไทยen
dc.titleการใช้สื่อมวลชนและการแพร่กระจายข่าวสารเพื่อกิจกรรมด้านพัฒนาในชนบท : ศึกษาเฉพาะกรณีหมู่บ้านดอยแช่ ตำบลทากาศ อำเภอแม่ทา จังหวัดลำพูนen
dc.title.alternativeThe use of mass media and information diffusion for development activities in Ban Doi Cahir Tambol Takard, Amphor Mae Ta, Lumphon Provinceen
dc.typeTechnical Reporten
dc.email.authorSirichai.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Comm - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirichai(lumphon).pdf22.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.