Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1816
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชนกพร จิตปัญญา-
dc.contributor.advisorสุรีพร ธนศิลป์-
dc.contributor.authorปิยาภรณ์ เบญจบันลือกุล, 2513--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-08-16T03:44:57Z-
dc.date.available2006-08-16T03:44:57Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741704976-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/1816-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en
dc.description.abstractศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางคลินิก ปัจจัยส่วนบุคคล และความเหนื่อยล้าในผู้ติดเชื้อเอชไอวี กลุ่มตัวอย่างคือผู้ติดเชื้อเอชไอวี ที่เข้ารับการรักษาตัวที่โรงพยาบาลบำราศนราดูร มีอายุ 18 ปีขึ้นไป และยินยอมให้ความร่วมมือในการวิจัย จำนวน 150 ราย เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินความเหนื่อยล้าของไปเปอร์ แบบประเมินคุณภาพการนอนหลับของเวอร์แรน และแบบประเมินความซึมเศร้าของเบค แบบประเมินทั้งสามชุดได้ผ่านการตรวจความเที่ยง โดยการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยง .95, .86, และ .93 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าสถิติไค-สแควร์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความเหนื่อยล้าของผู้ติดเชื้อเอชไอวี จัดอยู่ในระดับปานกลาง (X = 6.40, S.D. = 1.35) 2. คุณภาพการนอนหลับและความซึมเศร้า มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความเหนื่อยล้าในผู้ติดเชื้อเอชไอวี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .56, .55 ตามลำดับ)en
dc.description.abstractalternativeTo examine the relationships between clinical factors, personal factors, and fatigue in HIV infected individuals. Subject was a group of 150 people admitted in Bumrasnaradual Hospital, age over 18 years and all voluntarily participated in the the study. Data were collected by using 4 instruments: demographic data form, Piper's Fatigue Scale, Verran's Sleep Quality Scale, and Beck's Depression Scale. The reliability of three questionnaires were .95, .86, and .93, respectively. Statistical techniques used in data analysis were mean, standard deviation, Pearson product moment correlation coefficient, and chi-square test. Major findings were as follows 1. Fatigue scores of HIV infectious individuals were at a medium livel. (X = 6.40, S.D. = 1.35) 2. There was a positively statistical correlation between quality of sleep, depression, and fatigue in HIV infectious individuals at the level of .05 (r = .56, and .55, respectively).en
dc.format.extent702346 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectผู้ติดเชื้อเอชไอวีen
dc.subjectความล้าen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางคลินิก ปัจจัยส่วนบุคคล และความเหนื่อยล้าในผู้ติดเชื้อเอชไอวีen
dc.title.alternativeRelationships between clinical factors, personal factors, and fatigue in HIV infected individualsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineพยาบาลศาสตร์en
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSureeporn.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piyaporn.pdf1.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.