Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18767
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์-
dc.contributor.authorจีรนันท์ แก้วมา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-03-26T23:25:40Z-
dc.date.available2012-03-26T23:25:40Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/18767-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการใช้เทคนิคการสอนเชิง พฤติกรรมที่มีต่อนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญาในการปฏิบัติตนต่อตน เองและผู้อื่น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านการพูด การแต่งกาย การเข้าห้องน้ำ และการเล่น กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนที่มีความบกพร่องทางสติปัญญา ระดับเชาวน์ปัญญา 35 - 49 จากโรงเรียนราชานุกูล จำนวน 4 คน เป็นนักเรียนชาย 2 คนและนักเรียน หญิง 2 คน ซึ่งใช้วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 1.แผนการจัด การเรียนรู้โดยใช้เทคนิคการสอนเชิงพฤติกรรมได้แก่ การสร้างแรงจูงใจและการให้รางวัล การกระตุ้น เตือนด้วยวาจา การเลียนแบบ และการปฏิบัติในสถานการณ์ทั่วไป 2.แบบสังเกตพฤติกรรม และ 3.แบบ สัมภาษณ์พฤติกรรม ผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสังเกตพฤติกรรมโดยการหาค่าเฉลี่ย และร้อยละ ส่วนข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์ใช้การวิเคราะห์ ตีความ และประมวลข้อมูลเป็นความเรียง ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนที่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านการพูด มี 3 คน ได้แก่ เด็กชายวันเทพ เด็กชาย วิรัน และเด็กหญิงสายน้ำ 2. นักเรียนที่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านการแต่งกาย (ยกเว้นเรื่องการเลือกชุดเครื่อง แต่งกาย) มี 1 คน คือ เด็กชายวิรัน 3. นักเรียนที่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านการแต่งกาย (เฉพาะเรื่องการเลือกชุดเครื่อง แต่งกาย) มี 2 คน ได้แก่ เด็กชายวันเทพ และเด็กชายวิรัน 4. นักเรียนที่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านการเข้าห้องน้ำ มี 2 คน ได้แก่ เด็กชายวันเทพ และเด็กชายวิรัน 5. นักเรียนที่เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านการเล่น มี 1 คน คือ เด็กชายวิรัน โดยสรุป นักเรียนทุกคนมีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในด้านการพูด การแต่งกาย การเข้า ห้องน้ำ และการเล่นดีขึ้น ยกเว้นเด็กหญิงแอนนาที่มีพฤติกรรมที่ดีมากอยู่แล้วในทุกด้านen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of using behavioral teaching techniques on self and social conduct of mentally retarded students regarding 4 behaviors which were speaking, dressing, toilet using and playing. The sample group of 4 students (2 males and 2 females) from Rajanukul school was selected by purposive selection method. The instruments used for this research consisted of these followings; 1) the lesson plans of using behavioral teaching techniques on self and social conduct of mentally retarded students (motivation and reward, prompting, imitation and generalization) 2) the behavioral observation form and 3) the interview form. The data of the behavioral observation were analyzed in terms of means and percentages while the interview data were analyzed by content analysis. The results of this research showed as follows : 1. Speaking behaviors were changed by two male and one female students (Wantep, Wiran and Sainam). 2. Dressing behaviors (except dress selecting) were changed by one male student (Wiran). 3. Dress selecting behavior was changed by two male students (Wantep and Wiran). 3. Dress selecting behavior was changed by two male students (Wantep and Wiran). 5. Play behaviors were changed by only one male student (Wiran). In conclusion, speaking, dressing, toilet using and playing behaviors were better changed by every student except one female student (Anna) who had already got best practices in every areas of behaviors.en
dc.format.extent8390852 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.525-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectความบกพร่องทางสติปัญญาen
dc.subjectการสอนen
dc.titleผลของการใช้เทคนิคการสอนเชิงพฤติกรรมที่มีต่อนักเรียนที่มีความบกพร่องทางสถิปัญญาในการปฏิบัติตนต่อตนเองและผู้อื่นen
dc.title.alternativeEffects of using behavioral teaching techniques on self and social conduct of mentally retarded studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAimutcha.W@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.525-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jeeranan_ka.pdf8.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.