Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20044
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอนุภาพ สมบูรณ์สวัสดี-
dc.contributor.authorศศิประภา โมรากุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี-
dc.date.accessioned2012-06-05T14:27:09Z-
dc.date.available2012-06-05T14:27:09Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20044-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (สต.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบการประมาณค่าพารามิเตอร์ของการแจกแจงจากข้อมูลที่ถูกเซ็นเซอร์แบบช่วง โดยวิธีภาวะน่าเป็นสูงสุดและวิธีประมาณแบบใช้กราฟ และศึกษาการปรับค่าเอนเอียงของวิธีประมาณแบบใช้กราฟ ในการเปรียบเทียบการประมาณวิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุดและวิธีประมาณแบบ ใช้กราฟ พบว่า เมื่อแบ่งข้อมูลออกเป็นช่วงด้วยการกำหนดจุดเวลาในการสังเกต พบว่าโดยรวมวิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุดมีประสิทธิภาพดีกว่าวิธีประมาณแบบใช้กราฟเมื่อข้อมูลมีการแจกแจงแบบล็อกนอร์มอล,การแจกแจงแบบล็อกโลจิสติก และวิธีประมาณแบบใช้กราฟดีกว่าวิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุดเมื่อข้อมูลมีการแจกแจงแบบไวบูลล์ที่ shape parameter ในทุกขนาดตัวอย่าง และที่ shape parameter หรือ เมื่อขนาดตัวอย่างเล็ก และเมื่อแบ่งข้อมูลออกเป็นช่วงด้วยการกำหนดเปอร์เซ็นต์การเซ็นเซอร์ของข้อมูล พบว่าโดยรวมวิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุดมีประสิทธิภาพดีกว่าวิธีประมาณแบบใช้กราฟเมื่อข้อมูลมีการแจกแจงแบบล็อกนอร์มอล,การแจกแจงแบบล็อกโลจิสติก และการแจกแจงแบบไวบูลล์ที่ shape parameter และวิธีประมาณแบบใช้กราฟดีกว่าวิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุดเมื่อข้อมูลมีการแจกแจงแบบไวบูลล์ที่ shape parameter หรือ เมื่อตัวอย่างมีขนาดเล็ก ในการปรับค่าเอนเอียงของวิธีแบบใช้กราฟ สำหรับข้อมูลที่มีการแจกแจงแบบล็อกนอร์มอล,การแจกแจงแบบล็อกโลจิสติกและการแจกแจงแบบไวบูลล์ พบว่าวิธีแบบใช้กราฟที่ปรับค่าเอนเอียงจะมีประสิทธิภาพดีกว่าวิธีแบบใช้กราฟเมื่อตัวอย่างมีขนาดเล็ก และประสิทธิภาพเข้าใกล้กันเมื่อตัวอย่างมีขนาดใหญ่ขึ้นen
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to compare parameter estimations from interval-censored data. The parameter estimation methods are maximum likelihood estimation (MLE) and graphical estimation (GE). Moreover, we also study bias correction method for graphical estimation. In case of fixed observed time, MLE is more efficient than GE for lognormal distribution and loglogistic distribution. GE is more efficient than MLE for weibull distribution, when the shape parameter is equal to 1 or the sample size is small with the shape parameter or . In case of fixed censoring rate, MLE is more efficient than GE for lognormal distribution, loglogistic distribution and weibull distribution, when the shape parameter . GE is more efficient than MLE for weibull distribution when the shape parameter or with small sample size. With bias correction of graphical estimation for lognormal distribution, loglogistic distribution and weibull distribution, the bias correction graphical estimation (BCGE) is more efficient than GE, especially, for small sample size, however, the efficiency decreases as sample size increases.en
dc.format.extent2549485 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการประมาณค่าพารามิเตอร์-
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบการประมาณพารามิเตอร์จากข้อมูลที่ถูกเซ็นเซอร์แบบช่วงen
dc.title.alternativeA comparative study on parameter estimation from interval-censored dataen
dc.typeThesises
dc.degree.nameสถิติศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสถิติes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAnupap.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sasiprapa_mo.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.