Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20260
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจินตนา สรายุทธพิทักษ์-
dc.contributor.authorรุจี ดีอินทร์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.coverage.spatialอุตรดิตถ์-
dc.date.accessioned2012-06-12T14:08:15Z-
dc.date.available2012-06-12T14:08:15Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20260-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับอาการ พฤติกรรม หรือความรู้สึกที่แสดงว่านักเรียนมีความเครียด ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์เขต 1จังหวัดอุตรดิตถ์ 2) นำเสนอโปรแกรมการลดความเครียดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุตรดิตถ์เขต 1 จังหวัดอุตรดิตถ์ ดำเนินการโดยการสำรวจระดับอาการ พฤติกรรม หรือความรู้สึกที่นักเรียนมีความเครียด จำนวน 400 คน นำมาเป็นข้อมูลพื้นฐานร่วมกับการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ทฤษฎีของRoy และ Bandura เพื่อจะนำเสนอโปรแกรมการลดความเครียดของนักเรียน ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดอุตรดิตถ์ มีความเครียดอยู่ในระดับสูงกว่าปกติมาก 2. โปรแกรมการลดความเครียดของนักเรียน ประกอบด้วย 2.1 หลักการ คือ นักเรียนมีความเชื่อมั่นในความสามารถแห่งตน รู้จักปรับตัวเพื่อรักษาความสมดุลทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคม โดยมีกิจกรรมลดความเครียดที่เหมาะสมกับตนเอง 2.2 วัตถุประสงค์ ได้แก่นักเรียนสามารถบอกสาเหตุ และประเมินระดับความเครียดของตนเองได้ รวมทั้งสามารถเลือกกิจกรรมที่เหมาะสมไปใช้เพื่อลดความเครียดของตนเองได้ 2.3 กิจกรรมได้แก่ หัวใจฉันสัมพันธ์กับเธอ การให้ความรู้ การคิดแบบอริยสัจ การฝึกเกร็งและคลายกล้ามเนื้อ การฝึกสมาธิ และการใช้เสียงเพลง 2.4 ระยะเวลา 9 วัน วันละ 45 – 50 นาที 2.5 การประเมินผล การสังเกตการมีส่วนร่วม และ การแสดงความคิดเห็นen
dc.description.abstractalternativeThis research purposes: 1) To study levels, behaviors or signs of stress of twelfth grade students in Uttaradit Education Service Area Office zone one, and 2) To propose a stress-reducing program to the students. levels, behaviors or signs of stress of 400 students were surveyed by the stress self-assessment forms distributed of the social mental health division, use to data base with analysis and synthesis The theory of Roy and Bandura in order to propose program of stress reduction of students. The study findings are. 1. The stress level of twelfth grade students was much higher than the average level. 2. The stress-reducing program for twelfth grade students in Uttaradit can be described as follows: 2.1 principle – choosing proper stress-reducing activities, students were self-confident and able to adapt themselves so as to maintain physical, mental, and social equilibrium. 2.2 objectives – students were able to identify causes of their stress, assess their levels of stress, as well as choose the right activities to reduce their stress. 2.3 activities – activities consisted of my heart was connected to yours, giving knowledge, the nobel truth thinking , flexing and relaxing muscles , meditation and music application . 2.4 duration – students spent 45 – 50 minutes per day on the above-stated activities for nine days. 2.5 evaluation – students’ participation and opinion expression were observed.en
dc.format.extent1964615 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการนำเสนอโปรแกรมการลดความเครียดของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 จังหวัดอุตรดิตถ์en
dc.title.alternativeA Proposed program of stress reduction of twelfth grade student Uttaraditen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorJintana.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
rujee_de.pdf1.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.