Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20546
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอำไพ ตีรณสาร-
dc.contributor.authorหทัยรัตน์ พึ่งประยูรพงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-07-07T05:15:58Z-
dc.date.available2012-07-07T05:15:58Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/20546-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractศึกษาการรับรู้เชิงสุนทรีย์ของนักเรียนประถมศึกษาที่มีต่องานศิลปะ กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนระดับประถมศึกษาปีที่ 3 และ 6 สังกัดสำนักการศึกษากรุงเทพมหานคร จำนวน 300 คน ได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยสร้างขึ้นโดยผู้วิจัยโดยได้พัฒนามาจากแนวทฤษฎีการพัฒนาทางสุนทรียภาพของไมเคิล เจ พาร์สัน จำแนกออกเป็น 5 ขั้น ได้แก่ ขั้นที่ 1 ความชื่นชอบ ขั้นที่ 2 ความงามและเหมือนจริง ขั้นที่ 3 การแสดงออก ขั้นที่ 4 แบบอย่างและรูปแบบ ขั้นที่ 5 ความเป็นตัวของตนเองคือ แบบทดสอบการรับรู้เชิงสุนทรีย์ ประกอบด้วยภาพถ่ายงานจิตรกรรม 6 ภาพ และชุดคำถาม แบบบันทึกการรับรู้เชิงสุนทรีย์ คู่มือการวิเคราะห์เชิงสุนทรีย์ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าสูงสุด ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าที ผลการวิจัยพบว่าค่าสูงสุดในการการรับรู้เชิงสุนทรีย์ของนักเรียนประถมศึกษาที่มีต่องานศิลปะอยู่ในขั้นที่ 2 ความงามและเหมือนจริงมากที่สุด คิดเป็น 58.39% รองลงมาคือ ขั้นที่ 3 การแสดงออก คิดเป็น 39.28% และขั้นที่ 4 แบบอย่างและรูปแบบ คิดเป็น 2.33% และไม่พบการรับรู้เชิงสุนทรีย์ในขั้นที่ 5 ความเป็นตัวของตัวเองen
dc.description.abstractalternativeTo study the aesthetic perception of elementary school students of artworks. The samples of the population used in this study included three hundred third and sixth grade students in elementary schools under the Department of Education Bangkok Metropolitan Administration by means of multi-stage random sampling. The instruments used in this research were developed by the researcher based on Michael J. Parsons’ cognitive and development account of aesthetic experience which composed of five stages : 1. Favoritism, 2. Beauty and realism, 3. Expressiveness, 4. Style and form and 5. Autonomy. The instruments were aesthetic perception test which composed of six painting reproductions and a set of questions ; aesthetic perception recording form and guidelines for analyzing perception form. The collected data were analyzed means of by maximum value, frequencies, percentage and and t-test. The results found that the highest frequentcy were at stage 2. Beauty and realism (58.39%) ; followed by stage 3. Expressiveness (39.28%) and stage 4. Style and form (2.33%). The aesthetic perception at stage 5. Autonomy were not found.en
dc.format.extent2013007 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.576-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectศิลปกรรม -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา)-
dc.subjectสุนทรียศาสตร์-
dc.subjectศิลปวิจักษณ์-
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา-
dc.subjectArt -- Study and teaching (Elementary)-
dc.subjectAesthetics-
dc.subjectArt appreciation-
dc.titleการศึกษาการรับรู้เชิงสุนทรีย์ของนักเรียนประถมศึกษาที่มีต่องานศิลปะen
dc.title.alternativeA study of aesthetic perception of elementary school students toward artworksen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineศิลปศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAmpai.Ti@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.576-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
hatairat_pu.pdf1.97 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.