Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21677
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวลัย อิศรางกูร ณ อยุธยา-
dc.contributor.authorอภิรดี ศรีสยาม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-08-22T14:07:57Z-
dc.date.available2012-08-22T14:07:57Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/21677-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาหลักสูตรรายวิชาสันติภาพที่เน้นการคิดวิเคราะห์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาตามแนวสันติวิธีและศึกษาผลของการใช้หลักสูตรรายวิชาสันติภาพที่เน้นการคิดวิเคราะห์ที่มีต่อความสามารถในการแก้ปัญหาตามแนวสันติวิธีสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชาสันติภาพ จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการคิดวิเคราะห์โดยใช้รูปแบบการสอนสาเหตุและผล (The Cause and effect Model) ใช้เวลาในการทดลอง 16 คาบ (สัปดาห์ละ 2 คาบ คาบละ 50 นาที) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาตามแนวสันติวิธีซึ่งมีค่าความเที่ยงของแบบวัดเท่ากับ 0.86 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย (X-bar) ค่าส่วนเบี่ยงเบน (S.D) และเปรียบเทียบผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัย 1)ได้หลักสูตรรายวิชาสันติภาพประกอบด้วย 6 หน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ โลกแห่งความแตกต่าง สันติภาพนั้นสำคัญไฉน สิทธิมนุษยชนกับสันติภาพ เคารพยอมรับสังคมเป็นสุข ร่วมมือร่วมใจเข้าใจเพื่อสันติ สันติภาพเริ่มต้นด้วยความรัก 2)นักเรียนที่เรียนรายวิชาสันติภาพได้คะแนนความสามารถในการแก้ปัญหากว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to 1) develop peace subject curriculum emphasizing analytical thinking for promoting problem solving abilities 2) study the results of implementing peace subject curriculum. Participants consisted of 18 lower secondary school students who registered peace subject. The experiment tools were the lesson plans utilizing the cause and effect model. The experiment lasting 16 periods (2 periods per week, 50 minutes per 1 period) . The collecting data tool was students’ abilities test on problem solving based on peaceful solution with its reliability was 0.86 . The data were analyzed by arithmetic mean (X-bar), standard deviation (S.D) and then were compared by t-test. The results of this research were : 1) Peace subject was developed which consisted of 6 units : The world of differences, Peace is importance, Respect of others created happiness, Human rights and Peace, Cooperation for Peace , Peace starts from love. 2) The students who studied peace subject got Post-test scores on problem solving abilities higher than Pre-test scores at 0.01 level of significance.en
dc.format.extent2940504 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.461-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสันติศึกษาen
dc.subjectสันติภาพ -- การศึกษาและการสอนen
dc.titleการพัฒนาหลักสูตรรายวิชาสันติภาพที่เน้นการคิดวิเคราะห์เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหาตามแนวสันติวิธีสำหรับระดับมัธยมศึกษาตอนต้นen
dc.title.alternativeDevelopment of peace subject curriculum emphasizing analytical thinking to promote problem solving abilities based on peaceful solution for lower secondary school levelen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการสอนสังคมศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.461-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
apiradee_sr.pdf2.89 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.