Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22044
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีรพล แสงปัญญา-
dc.contributor.authorศิรินันท์ สุรสันติวรการ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-09-09T10:23:47Z-
dc.date.available2012-09-09T10:23:47Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22044-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาผลของการใช้เทคนิคซินเนคติกส์ที่มีต่อผลงานสร้างสรรค์และเจตคติต่อการทำงานประดิษฐ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 2) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนผลงานสร้างสรรค์ และคะแนนเจตคติต่อการทำงานประดิษฐ์ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการฝึกใช้เทคนิคซินเนคติกส์ และกลุ่มที่เรียนตามปกติ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนเบญจมราชาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์ จำนวน 60 คน โดยได้รับการสุ่มออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม จำนวนกลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ กิจกรรมการฝึกใช้เทคนิคซินเนคติกส์ แบบประเมินผลงานสร้างสรรค์ และแบบวัดเจตคติต่อการทำงานประดิษฐ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติบรรยาย และการทดสอบค่าทีแบบเป็นอิสระและไม่เป็นอิสระ ผลการวิจัยพบว่า 1. หลังจากการทดลอง นักเรียนกลุ่มที่ได้รับการฝึกใช้เทคนิคซินเนคติกส์มีค่าเฉลี่ยคะแนนผลงานสร้างสรรค์ และค่าเฉลี่ยคะแนนเจตคติต่อการทำงานประดิษฐ์สูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2. หลังจากการทดลอง นักเรียนกลุ่มที่ได้รับการฝึกใช้เทคนิคซินเนคติกส์มีค่าเฉลี่ยคะแนนผลงานสร้างสรรค์ และค่าเฉลี่ยคะแนนเจตคติต่อการทำงานประดิษฐ์สูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to study effects of synectics technique on creative products and attitudes toward the invention of seventh grade students 2) to compare creative products scores and attitudes toward the invention scores between students who were in a synectics technique training group and a control group. Participants included 60 upper elementary students in Benjamarachalai School Under the Royal Patronage of the King who enrolled during the second semester of the academic years 2011. The participants were randomly assigned to an experimental group and control group with 30 students in each group. Research instruments were synectics technique program consisted of 9 activities, a creative products evaluation and an attitudes toward the invention test. Descriptive statistics and t-test were employed for data analysis.The results were as follows : 1. Creative products posttest scores and attitudes toward the invention posttest scores of students in synectics technique training group were higher than the pretest scores at the .01 level of significance. 2. Creative products posttest scores and attitudes toward the invention posttest scores of students in synectics technique training group were higher than control group at the .01 level of significance.en
dc.format.extent1673224 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.664-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสิ่งประดิษฐ์en
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์ในเด็กen
dc.titleผลของการใช้เทคนิคซินเนคติกส์ที่มีต่อผลงานสร้างสรรค์ และเจตคติต่อการทำงานประดิษฐ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1en
dc.title.alternativeThe effects of synectics technique on creative products and attitudes toward the invention of seventh grade studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorWeeraphol.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.664-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sirinun_su.pdf1.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.