Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22243
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรวรรณ เหมชะญาติ-
dc.contributor.authorชาณิการ์ เอิบอาบ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-09-28T10:48:23Z-
dc.date.available2012-09-28T10:48:23Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/22243-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและศึกษาผลการใช้โปรแกรมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองตามแนวคิดเอไอซีเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพให้แก่เด็กวัยอนุบาล 2 ด้าน คือ สุขภาพกายและสุขภาพจิต การพัฒนาโปรแกรมฯ ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ ขั้นเตรียมการ ขั้นการสร้างโปรแกรมฯ ขั้นการทดลองใช้โปรแกรมฯ และขั้นประเมินประสิทธิภาพโปรแกรมฯ ตัวอย่างประชากร คือ ผู้ปกครองของเด็กที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นอนุบาล 2 ของโรงเรียนวัดพิกุลเงิน องค์การบริหารส่วนจังหวัดนนทบุรี สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จำนวน 24 คน ระยะเวลาที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 14 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของเด็กวัยอนุบาล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที และแบบบันทึกการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของเด็กวัยอนุบาลใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงบรรยาย ผลการวิจัยมีดังนี้ 1. โปรแกรมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองตามแนวคิดเอไอซีเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของเด็กวัยอนุบาลในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย หลักการของโปรแกรมฯ วัตถุประสงค์ของโปรแกรมฯ ลักษณะกิจกรรมของโปรแกรมฯ เนื้อหาของโปรแกรมฯ และการประเมินผลของโปรแกรมฯ 2. ผลการทดลองใช้โปรแกรมฯ พบว่า 2.1 หลังการเข้าร่วมโปรแกรมฯ ผู้ปกครองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของเด็กวัยอนุบาลสูงกว่าก่อนการเข้าร่วมโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2 หลังการเข้าร่วมโปรแกรมฯ ผู้ปกครองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการความพึงพอใจในการเข้าร่วมโปรแกรมฯ ในระดับมากen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to develop a parent participation program based on A-I-C concept to promote health behaviors of preschoolers in both physical and mental health. The developed program consisted of four stages: preparation, construction, program experiment, and evaluation. The samples were parents of second preschool year class from Wat Pikulngern School. The duration of the study was 14 weeks. The research instruments were an evaluation form of parent participation to promote health behaviors of preschoolers and the parent participation checklist. The data from first instrument were statistically analyzed using mean, standard deviation, and t-test dependent. The data form second instrument was used for descriptive analyzed. The research findings were as follows: 1. A parent participation program based on A-I-C concept to promote health behaviors of preschoolers consisted of foundation concept, objective, activities, content, and evaluation of program. 2. The effects of using a parent participation program were as follows: 2.1 After the program implementation, the mean scores of the parent’s participation were significantly higher than those of before at the .05 level. 2.2 After the program implementation, the mean scores of the program satisfaction were at the high level.en
dc.format.extent4217415 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.843-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียนen
dc.subjectพฤติกรรมสุขภาพในเด็กen
dc.subjectการศึกษา -- การมีส่วนร่วมของบิดามารดาen
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองตามแนวคิดเอไอซีเพื่อส่งเสริมพฤติกรรมสุขภาพของเด็กวัยอนุบาลในโรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นen
dc.title.alternativeDevelopment of a parent participation program based on A-I-C concept to promote health behaviors of preschoolers in schools under the local administrative organizationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการศึกษาปฐมวัยes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorWorawan.H@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.843-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chaniga_ea.pdf4.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.