Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2252
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกฤษดา วิศวธีรานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า-
dc.date.accessioned2006-08-28T07:05:14Z-
dc.date.available2006-08-28T07:05:14Z-
dc.date.issued2531-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2252-
dc.description.abstractรายงานการวิจัยนี้ กล่าวถึงรายละเอียดการพัฒนาเครื่องควบคุมลิฟท์โดยสารโดยใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ เป็นแกนกลางในการควบคุม จุดประสงค์หลักคือ การสร้างเครื่องควบคุมไมโครคอมพิวเตอร์ ใช้แทนเครื่องควบคุมแบบรีเลย์เดิม ให้สามารถใช้งานได้จริงในอุตสาหกรรม ขั้นตอนการพัฒนามีการศึกษาระบบลิฟท์ การออกแบบและสร้างฮาร์ดแวร์ของเครื่องควบคุม การพัฒนาโปรแกรมควบคุมลิฟท์ การทดสอบระบบ และการติดตั้งใช้งานจริง ระบบลิฟท์เป้าหมายเป็นลิฟท์โดยสารเดี่ยวไม่เกิน 24 ชั้น ใช้มอเตอร์กระแสสลับสองความเร็วในการขับเคลื่อน การควบคุมการทำงานเป็นแบบซีเลคทีฟ คอลเลตทีฟ ระบบใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ขนาด 8 บิท หน่วยความจำ 24 กิโลไบท์ มีหน่วยอินพุทและเอาท์พุทแบบดิจิตอลสำหรับการควบคุมโปรแกรมควบคุมระบบใช้หลักการแปลแผนภาพขั้นบันไดของวงจรลิฟท์ ได้ทำการพัฒนาโปรแกรมการแปลแผนภาพขั้นบันได สำหรับโครงการนี้โดยเฉพาะ ได้นำระบบที่ออกแบบและสร้างขึ้นไปติดตั้งทดสอบทีโรงพยาบาลกรุงธน เป็นเวลา 5 เดือน ผลการทดสอบเป็นที่น่าพอใจen
dc.description.abstractalternativeThis report presents a development of microprocessor-based simplex elevator controller. The main objective is to develop an insudtrial grade elevator microcomputer controller to replace the old fashion relay controller. Developing steps concern studying of elevator system, designing and construction of controller's hardware, software development, system teasting and actual installation. The target elevator is a simplex elevator not more than 24 floors and drived by two speed AC motor. The control method utilizes fully selective collective control. The controller employs 8 bit microprocessor with 24 kilobyte memory and digital input output unit. The software employs the interpretation of elevator control ladder diagram. The ladder interpreter is developed for this specific purpose. The complete system was installed and testes with a passenger elevator at Krungthon hospital for 5 months. And the testing gave the satisfactory result.en
dc.description.sponsorshipทุนการพัฒนาวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปี 2529en
dc.format.extent21452749 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectรีเลย์en
dc.subjectลิฟต์en
dc.subjectไมโครคอมพิวเตอร์en
dc.subjectการควบคุมอัตโนมัติen
dc.titleการพัฒนาเครื่องควบคุมลิฟท์โดยสารโดยใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ : รายงานผลการวิจัยen
dc.title.alternativeDevelopment of microprocessor based elevator controlleren
dc.typeTechnical Reporten
dc.email.authorKrisada.V@chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Krisada(micro).pdf8.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.