Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23323
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์ | |
dc.contributor.advisor | กฤษณ์ วสีนนท์ | |
dc.contributor.author | นพัตธร ฤทธิกาญจน์ | |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | |
dc.date.accessioned | 2012-11-07T15:21:39Z | |
dc.date.available | 2012-11-07T15:21:39Z | |
dc.date.issued | 2544 | |
dc.identifier.isbn | 9741705093 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/23323 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.) -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาพัฒนาการของการกำเนิดรัฐที่มีอำนาจอธิปไตยในประเทศไทย นับแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบันโดยนำความคิดว่าด้วยการจัดสถาบันของอำนาจเพื่อใช้ในการพิจารณาถึงลักษณะของอำนาจในการปกครองในยุคต่างๆ ว่ามีลักษณะทีแยกออกจากตัวบุคคลให้เป็นของสถาบันที่เรียกว่ารัฐ ซึ่งจะมีผลให้เกิดรัฐที่มีอำนาจอธิปไตยตั้งแต่เมื่อใดและใครเป็นรัฐาธิปัตย์จากการศึกษาปรากฏว่า ในสมัยสุโขทัยจนถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น อำนาจในการปกครองมีรากฐานปะปนอยู่ที่ตัวบุคคลการเข้าสู่ตำแหน่งในการใช้อำนาจต้องอาศัยสมบัติส่วนตัวของบุคคลมิได้เกิดขึ้นจากกฎเกณฑ์ที่แน่นอนและมีการแย่งชิงอำนาจกันอยู่ตลอดเวลาทำให้อำนาจขาดความสูงสุดอย่างแท้จริงในความหมายของอำนาจอธิปไตย ในสมัยรัชกาลที่ 5 อำนาจในการปกครองทั้งหมดรวมเข้าสู่สถาบันพระมหากษัตริย์ และมีการทำให้อำนาจที่ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติส่วนตัวของบุคคลสิ้นสุดไปโดยการแต่งตั้งตำแหน่งมกุฎราชกุมารเป็นกฎเกณฑ์ที่แน่นอนในการเข้าสู่ตำแหน่งในการเข้าสู่ตำแหน่งในการใช้อำนาจซึ่งถือเป็นปรากฏการณ์ในการจัดสถาบันของอำนาจ ส่งผลให้เกิดรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่องค์พระมหากษัตริย์เป็นรัฐาธิปัตย์ผู้ใช้อำนาจอธิปไตยแทนรัฐแต่เพียงผู้เดียว ครั้นต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 7 ได้มีการตราพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามชั่วคราว 2475 เป็นผลให้มีการเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์ในการเข้าสู่ ตำแหน่งในการเป็นรัฐาธิปัตย์ผู้ใช้อำนาจอธิปไตยใหม่เป็นพระมหากษัตริย์ร่วมกับประชาชนโดยมีองค์กรต่างๆ ได้แก่ รัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล เป็นผู้ใช้อำนาจอธิปไตยแทนรัฐาธิปัตย์ และ หลักการดังกล่าวได้แสดงถึงความผูกพันระหว่างสถาบันพระมหากษัตริย์กับประชาชนในการร่วม กันเป็นรัฐาธิปัตย์ผู้ใช้อำนาจอธิปไตยแทนรัฐที่สืบทอดมาจนถึงรัฐธรรมนูญปัจจุบัน | |
dc.description.abstractalternative | This thesis aims at scrutinizing the evolution of the origin of sovereignty state in Thailand, from Sukhotai Period to present time. By studying on the concept of institutionalization of power for consideration to the nature of the ruling in diverse period that separate from the individuals to be qualified as institution so called state consequently bring issue of when the sovereignty state was originated, and who is the sovereign. Upon studying its theories, it reveal that, Sukhotai period to early Rattanakosin time, the ruling had been base on the persons. Thus, entering into the incumbency to exercise the power must depend on personal qualification of individuals, not any of certain principles, and as a result of the seize of power, all the time, occurred, which results in fact that the said power lacks the supremacy nature in the meaning of sovereignty. In the reign of King Rama 5, all of the ruling were centralized in the Royal institution and the power attached to personal qualification shall be terminated as a result of the appointment of crown prince which later become the criteria for entering into incumbency to exercise of power. The said events results resulted in the creation of the absolute monarchy where the king become the sole sovereign and exercise the sovereignty on behalf of state. Later, in the reign of King Rama 7, the provisional constitution of B.E. 2475 was enacted, therefore, resulting in a change in criteria in connection with entering in incumbency to be qualified as the sovereign. Currently, the King and the people jointly exercise the sovereignty through different organs, namely the parliament, the cabinet and the judiciary as representative of the exercise of sovereign. The said principle reflects the relationship between the royal institution and people in term of the joint exercise the sovereignty on behalf of state as inherited until nowadays. | |
dc.format.extent | 4546198 bytes | |
dc.format.extent | 1267366 bytes | |
dc.format.extent | 22277300 bytes | |
dc.format.extent | 36695629 bytes | |
dc.format.extent | 40847362 bytes | |
dc.format.extent | 7123671 bytes | |
dc.format.extent | 2065399 bytes | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.format.mimetype | application/pdf | |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.title | พัฒนาการและที่มาของอำนาจอธิปไตยและผู้ใช้อำนาจอธิปไตยในประเทศไทย | en |
dc.title.alternative | The evolution and the sovereign in Thailand | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
Appears in Collections: | Law - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Naphattorn_ri_front.pdf | 4.44 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Naphattorn_ri_ch1.pdf | 1.24 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Naphattorn_ri_ch2.pdf | 21.76 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Naphattorn_ri_ch3.pdf | 35.84 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Naphattorn_ri_ch4.pdf | 39.89 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Naphattorn_ri_ch5.pdf | 6.96 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Naphattorn_ri_back.pdf | 2.02 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.