Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24186
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอมอัชฌา วัฒนบุรานนท์-
dc.contributor.authorฉัตรพันธ์ ดุสิตกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-15T10:38:55Z-
dc.date.available2012-11-15T10:38:55Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24186-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการจัดกิจกรรมพลศึกษาที่มีต่อพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนประถมศึกษาโดยใช้เกมกลุ่มสัมพันธ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ของโรงเรียนสวนลุมพินี เขตลุมพินี จังหวัดกรุงเทพมหานคร ที่กำลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554 รวมทั้งสิ้น 30 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง พร้อมทั้งแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มทดลอง 15 คน กลุ่มควบคุม 15 คน ซึ่งมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมก้าวร้าวไม่แตกต่างกัน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แผนการจัดกิจกรรมพลศึกษาโดยใช้เกมกลุ่มสัมพันธ์ ซึ่งผู้วิจัยได้ดำเนินการสอนกลุ่มทดลองด้วยตนเอง คาบละ 50 นาที จำนวน 16 แผน เป็นเวลา 8 สัปดาห์ติดต่อกันโดยใช้เวลาหลังเลิกเรียน มีการวัดพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุมในระยะก่อนทดลอง หลังทดลอง และระยะหลังการทดลอง 2 สัปดาห์ โดยใช้แบบวัดพฤติกรรมก้าวร้าว จากนั้นนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของคะแนนด้วยค่าที วิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมทางเดียวแบบวัดซ้ำและเปรียบเทียบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยใช้ LSD ผลการวิจัย พบว่า 1) หลังการทดลองกลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมก้าวร้าวในระยะหลังการทดลองและระยะติดตามผลน้อยกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่ในกลุ่มควบคุมไม่พบความแตกต่าง 2) หลังการทดลองกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมก้าวร้าวน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en
dc.description.abstractalternativeThis study was a quasi-experimental research. The purpose of the research was to study the effects of physical education activity management by using group dynamic games on aggressive behaviors of elementary school students. The sample group was the fifth grade students of Suanlumpinee school, during the second semester of academic year 2011. The 15 students were experimental group who participated in the group dynamic games conducted by the researcher, while the control group of 15 students did not participate in group dynamic games. The average scores of aggressive behaviors of both groups were found no significant differences before implementation. The research tools consisted of physical education activity management plans by using group dynamic games on aggressive behaviors constructed by the researcher, for a session of 50 minutes, two days per week, 16 activity plans, over 8 weeks in after school period. The aggressive behaviors form was also tested before and after experiment, including 2 weeks of follow-up phases. The data were then analyzed in term of means, standard deviation, t-test, one-way analysis of variance with the repeated measure and LSD. method was also employed to determine the significant differences. The research findings were as follows : 1) After experiment and follow-up phases, the mean scores of the experimental group were found significantly less than before experiment at the .05 level. 2) After experiment, the mean scores of the experimental group were found significantly less than the control group at the .05 level.en
dc.format.extent4780263 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1832-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเกมen
dc.subjectความก้าวร้าวในเด็กen
dc.subjectกลุ่มสัมพันธ์en
dc.subjectพลศึกษา -- กิจกรรมการเรียนการสอนen
dc.titleผลของการจัดกิจกรรมพลศึกษาโดยใช้เกมกลุ่มสัมพันธ์ที่มีต่อพฤติกรรมก้าวร้าวของนักเรียนประถมศึกษาen
dc.title.alternativeThe effects of physical education activity management by using group dynamic games on aggressive behaviors of elementary school studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineสุขศึกษาและพลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorAimutcha.W@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1832-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chatpan_du.pdf4.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.