Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24380
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมทรง ลาวัณย์ประเสริฐ
dc.contributor.advisorนวลศรี นิวัติศัยวงศ์
dc.contributor.authorนรินทร์ บุบผาสุวรรณ
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์
dc.date.accessioned2012-11-17T04:08:24Z
dc.date.available2012-11-17T04:08:24Z
dc.date.issued2545
dc.identifier.isbn9741713312
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/24380
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ภ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractการรักษาความเป็นพิษจากการได้รับพาราเซตามอลเกินขนาด โดยทั่วไปจะใช้ acetaminophen toxicity nomogram เป็นเกณฑ์ในการพิจารณาว่าผู้ป่วยสมควรได้รับยาแก้พิษจำเพาะหรือไม่ การวิเคราะห์ความเข้มข้นของพาราเซตามอลในซีรัม/พลาสมาของผู้ป่วยจึงเป็นสิ่งสำคัญในการวินิจฉัยความเป็นพิษ แม้ว่าวิธีแก๊สโครมาโทกราฟี (GC) จะเป็นวิธีใช้วิเคราะห์ความเข้มข้นของพาราเซตามอล ซึ่งนำมาใช้ในการสร้าง acetaminophen toxicity nomogram วิธีสเปกโทรโฟโตเมตรีและฟลูออเรสเซนซ์โพลาไรเซชัน อิมมูโนแอสเสย์ (FPIA) เป็นวิธีที่ใช้มากกว่าในการจัดการความเป็นพิษกรณีเร่งด่วน การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์ที่จะเปรียบเทียบวิธีวิเคราะห์ทั้งสามวิธีสำหรับวิเคราะห์ความเข้มข้นของพาราเซตามอลในซีรัมผู้ป่วยที่ได้รับยาเกินขนาด โดยเก็บตัวอย่างซีรัมของผู้ป่วยที่ได้รับพาราเซตามอลเกินขนาดจำนวน 41 ราย พบว่าความเข้มข้นของพาราเซตามอลที่วิเคราะห์ด้วยวิธีสเปกโทรโฟโตเมตรี มีค่าสูงกว่าค่าที่วิเคราะห์ด้วยวิธี GC และ FPIA อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ความเข้มข้นของพาราเซตามอลที่วิเคราะห์ด้วยวิธีทั้งสามมีความสัมพันธ์เชิงเส้น โดยมีสมการถดถอยเชิงเส้นที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างผลการวิเคราะห์ด้วยวิธี GC (Y) กับวิธีสเปกโทรโฟโตเมตรี (X) คือ Y = 0.785X-5.86, R² = 0.973 และสมการถดถอยเชิงเส้นที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างผลการวิเคราะห์ด้วยวิธี GC (Y) กับวิธี FPIA (X) คือ Y = 1.116X-5.583, R² = 0.986 ข้อมูลที่ได้จากการศึกษานี้พร้อมด้วยการเปรียบเทียบความเข้มข้นของพาราเซตามอลในซีรัมที่ตรวจวิเคราะห์ทั้งสามวิธี และข้อดี ข้อเสียของแต่ละวิธี พบว่าวิธี FPIA และวิธีสเปกโทรโฟโตเมตรีเป็นวิธีที่เหมาะสมมากว่าวิธี GC ในการนำมาใช้ในทางปฏิบัติ ความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างวิธีวิเคราะห์เป็นข้อมูลเบื้องต้น แสดงถึงแนวโน้มที่อาจนำมาประยุกต์ใช้ในทางปฏิบัติเพื่อให้การวินิจฉัยมีความถูกต้องยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตามควรทำการศึกษาเพิ่มเติมเพื่อให้มีข้อมูลผู้ป่วยจำนวนมากขึ้นที่ได้รับพาราเซตามอลเกินขนาดที่เวลาต่างๆ นับจากผู้ป่วยได้รับยาจนถึงเวลาเจาะเลือด
dc.description.abstractalternativeAcetaminophen toxicity nomogram has been normally used by physicians to decide whether patient should receive a specific antidote for the treatment of paracetamol overdose. Determination of paracetamol concentration in serum or plasma is thus important for diagnosis of the poisoning. Even though gas chromatograph (GC) was a method used to quantify paracetamol concentration for the construction of the nomogram, spectrophotometric and fluorescence polarization immunoassay (FPIA) methods are preferentially used in emergency management. The objective of this study was to compare the concentrations of paracetamol in serum of paracetamol intoxicated patients were used in the study. The results showed that serum concentration of paracetamol determined by spectrophotometry was significantly (p<0.05) higher than those determined by GC and FPIA. There were linear relationships between serum paracetamol concentrations determine by these three methods. The linear regression equations of serum paracetamol concentrations determined by GC (Y) and spectrophotometry (X) was Y = 0.785X-5.86, R² = 0.973 whereas that of the concentrations determined by GC (Y) and FPIA (X) was Y = 1.116X-5.58, R² = 0.986 By comparing the concentration of paracetamol obtained, advantage and disadvantage features of various methods used, spectrophotometry and FPIA were more practical than GC. The linear regression equations preliminarily obtained from this study suggested a possibility of using the equations in practice for an improved accuracy of diagnosis. However, additional study with more of patients at several time points of intoxication was suggested.
dc.format.extent3272642 bytes
dc.format.extent1676624 bytes
dc.format.extent6541669 bytes
dc.format.extent2795811 bytes
dc.format.extent3442878 bytes
dc.format.extent1793718 bytes
dc.format.extent3299226 bytes
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.format.mimetypeapplication/pdf
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.titleการเปรียบเทียบวิธีวิเคราะห์ความเข้มข้นของพาราเซตามอลในซีรัมผู้ป่วย ระหว่างวิธีแก๊สโครมาโทกราฟีสเปกโทรโฟโตเมตรี และฟลูออเรสเซนซ์โพลาไรเซชัน อิมมูโนแอสเสย์en
dc.title.alternativeComparative determination of serum paracetamol concentration by gas chromatographic, spectrophotometric and fluorescence polarization immunoassay methodsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameเภสัชศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเภสัชวิทยาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
Appears in Collections:Pharm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Narin_bu_front.pdf3.2 MBAdobe PDFView/Open
Narin_bu_ch1.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open
Narin_bu_ch2.pdf6.39 MBAdobe PDFView/Open
Narin_bu_ch3.pdf2.73 MBAdobe PDFView/Open
Narin_bu_ch4.pdf3.36 MBAdobe PDFView/Open
Narin_bu_ch5.pdf1.75 MBAdobe PDFView/Open
Narin_bu_back.pdf3.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.