Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25059
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประนอม รอดคำดี-
dc.contributor.authorมยุรี เนียมหลวง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2012-11-21T09:45:17Z-
dc.date.available2012-11-21T09:45:17Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741734123-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/25059-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ระหว่างกลุ่มที่ได้รับการสอนรายบุคคลที่บ้านกับกลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่มารับบริการตรวจรักษาที่ศูนย์สุขภาพชุมชนตำบลบ้านไร่ อำเภอดำเนินสะดวก จังหวัดราชบุรี จำนวน 22 คน กลุ่มตัวอย่างได้รับการสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมโดยกำหนดให้ทั้ง 2 กลุ่มมีความคล้ายคลึงกันในด้านเพศ อายุ และระดับการศึกษา กลุ่มทดลองได้รับการสอนรายบุคคลที่บ้าน กลุ่มควบคุมได้รับการสอนตามปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นเครื่องมือที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ประกอบด้วย แผนการสอนรายบุคคลที่บ้าน เรื่องการควบคุมอาหาร การออกกำลังกาย และการใช้ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด คู่มือการดูแลตนเองสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และแบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และมีความเที่ยงของแบบสัมภาษณ์พฤติกรรมการดูแลตนเองเท่ากับ .79 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐาน ความเบี่ยงเบนควอไทล์ และใช้สถิติทดสอบ Wilcoxon Signed Ranks Test ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ภายหลังได้รับการสอนรายบุคคลที่บ้านดีกว่าก่อนได้รับการสอนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. พฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 กลุ่มที่ได้รับการสอนรายบุคคลที่บ้านดีกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this quasi-experimental research were to compare self-care behaviors between type 2 diabetic patients group who received individualized home-based instruction and type2 diabetic patients who received routine instruction. Research samples were 22 type 2 diabetic patients who attending at Banri Community Health Promotion Center Dumnurnsadouk, Ratchaburi Province. Samples were randomily assigned into two groups. Both groups were equally assigned by gender, age and education level. The experimental group received individualized home-based instruction. The control group received routine instruction. The research instruments were developed by the researcher, which were individualized home-based instruction about dietary control, exercise and oral antidiabetic drugs using, self-care manual for diabetic patients and interview form for self-care behaviors of type 2 diabetic patients. The instuments were tested for content validity by the group of experts and reliability of self-care behaviors interview form was .79. The data were analyzed by using Median, Quartile deviation and The Wilcoxon Signed Ranks Test. The major findings were as follows: 1. Self-care behaviors of type 2 diabetic patients after received individualized home-based instruction was significantly better than before, at .05 level. 2. Self-care behaviors of type 2 diabetic patients group who received individualized home-based instruction was significantly better than type 2 diabetic patients who received routine instruction, at .05 level.-
dc.format.extent2701390 bytes-
dc.format.extent3433732 bytes-
dc.format.extent8117907 bytes-
dc.format.extent6058330 bytes-
dc.format.extent3262151 bytes-
dc.format.extent2068047 bytes-
dc.format.extent11005558 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.1173-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง-
dc.subjectผู้ป่วยเบาหวาน-
dc.subjectSelf-care, Health-
dc.subjectDiabetics-
dc.titleผลของการสอนรายบุคคลที่บ้านต่อพฤติกรรมการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2en
dc.title.alternativeThe effect of individualized home-based instruction on self-care behaviors of type 2 diabetic patientsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineการพยาบาลศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.1173-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Mayuree_ni_front.pdfหน้าปก และ บทคัดย่อ2.64 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_ni_ch1.pdfบทที่ 13.35 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_ni_ch2.pdfบทที่ 27.93 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_ni_ch3.pdfบทที่ 35.92 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_ni_ch4.pdfบทที่ 43.19 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_ni_ch5.pdfบทที่ 52.02 MBAdobe PDFView/Open
Mayuree_ni_back.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก10.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.