Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2599
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุวรรณา กิจภากรณ์-
dc.contributor.authorสนิท กิจพายับ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสัตวบาล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาสัตวบาล-
dc.date.accessioned2006-09-18T11:50:06Z-
dc.date.available2006-09-18T11:50:06Z-
dc.date.issued2526-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/2599-
dc.descriptionการศึกษาแหล่งอาหารเสริมโปรตีนต่อคุณลักษณะของแม่กระต่าย -- การศึกษาแหล่งอาหารเสริมโปรตีนและอาหารหยาบต่อคุณลักษณะของกระต่ายที่กำลังเจริญเติบโตen
dc.description.abstractจากการศึกษาแหล่งอาหารเสริมโปรตีนในการเลี้ยงแม่กระต่ายที่เคยให้ลูกแล้ว 1 ครอกตั้งแต่ผสมพันธุ์ จนกระทั่งหย่านม (6 สัปดาห์) จำนวน 24 ตัว โดยแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มๆ ละ 6 ตัว เลี้ยงด้วยอาหารที่มีแหล่งโปรตีนจากกากถั่วเหลือง-ปลาป่น การถั่วเหลือง-กากเมล็ดฝ้ายและกากถั่วเหลือง-กากเมล็ดยางพารา ในอัตราส่วนของโปรตีนเสริม 1:1 ในกลุ่มที่ 1, 2 และ 3 ตามลำดับ ส่วนกลุ่มที่ 4 เลี้ยงด้วยแหล่งโปรตีนจากกากถั่วเหลือง-กากเมล็ดฝ้าย-กากเมล็ดยางพารา ในอัตราส่วนของโปรตีนเสริม 1:1:1 พร้อมทั้งให้หญ้าขนวันละ 200 กรัมแก่แม่กระต่ายทุกตัว ผลปรากฏว่า ระยะเวลาในการอุ้มท้องของแม่กระต่าย จำนวนลูกต่อครอกเมื่อแรกเกิดและหย่านม ปริมาณอาหารที่แม่กระต่ายกินระหว่างอุ้มท้อง และประสิทธิภาพในการเปลี่ยนอาหารของแม่และลูกกระต่ายตั้งแต่แรกเกิดจนกระทั่งหย่านม ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ แต่มีแนวโน้มว่าแม่กระต่ายที่ได้รับแหล่งโปรตีนจาก กากถั่วเหลือง-กากเมล็ดฝ้าย จะให้ผลดีที่สุดยกเว้นน้ำหนักลูกกระต่ายแรกเกิดเฉลี่ยจะต่ำกว่าทุกกลุ่ม และไม่พบอาการผิดปกติในแม่และลูกกระต่ายที่ได้รับอาหารจากแหล่งโปรตีนดังกล่าวทั้ง 4 แหล่ง การใช้แหล่งโปรตีนจากกากถั่วเหลือง-กากเมล็ดฝ้ายจะใช้ต้นทุนค่าอาหารต่ำสุดในการเพิ่มน้ำหนักตัวของลูก 1 กิโลกรัม-
dc.description.abstractalternativeThe study was conducted to investigate 4 protein supplement sources in raising does. Twenty-four does, already had one parity, were divided into 4 groups of six each. They were fed 1:1 soybean meal-fish meal, soybean meal-cotton seed meal and soybean meal-rubber seed meal, respectively. Protein sources for group 4 was 1:1:1 soybean meal-cotton seed mean-rubber seed meal. Fresh 200 grams para grass was given daily to all does. Four different protein sources did not affect gestation period, litter size, litter weight at birth and weaning, total feed consumed during gestation and feed conversion of both does and their rabbits from birth to weaning. There was a trend that protein supplement from soybean meal gave the best results except their litter weight at birth which is the lowest. No abnormality was found in both does and rabbits received varies sources of protein supplements. In terms of feed cost, protein supplement from soybean meal-cotton seed mean gave the lowest cost of production in 1 kilogram weight gain of rabbit.-
dc.description.sponsorshipทุนวิจัยงบประมาณแผ่นดิน 2526en
dc.format.extent14506655 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectกระต่าย -- การเลี้ยงen
dc.subjectอาหารสัตว์en
dc.titleการศึกษาเปรียบเทียบแหล่งอาหารเสริมโปรตีน และอาหารหยาบต่อคุณลักษณะของกระต่าย : รายงานผลการวิจัยประจำปี 2526en
dc.title.alternativeการศึกษาแหล่งอาหารเสริมโปรตีนต่อคุณลักษณะของแม่กระต่ายen
dc.title.alternativeการศึกษาแหล่งอาหารเสริมโปรตีนและอาหารหยาบต่อคุณลักษณะของกระต่ายที่กำลังเจริญเติบโตen
dc.title.alternativeEffect of protein supplements and roughage source on rabbit perfromacesen
dc.title.alternativeEffect of protein supplements on doe performancesen
dc.title.alternativeEffect of protein supplements and roughage sources on growing rabbitsen
dc.typeTechnical Reporten
dc.email.authorSuwanna.Ki@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Vet - Research Reports

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SuwannaSanit.pdf9.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.