Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28165
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSanong Ekgasit-
dc.contributor.advisorChichaat Thammacharoen-
dc.contributor.authorAnon Dachasiripong-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Faculty of Science-
dc.date.accessioned2012-12-26T08:27:14Z-
dc.date.available2012-12-26T08:27:14Z-
dc.date.issued2011-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28165-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2011en
dc.description.abstractA novel technique for a mass scale production of spherical silver particles powders was developed. A green chemical technique was employed for the preparation of high concentration silver particles colloid (50000 – 100000 ppm). The silver particles powder could be easily precipitated from the colloid. The results from scanning electron microscope (SEM) and dynamic light scattering particle size analyzer indicated a controllable size from nano-scale to micro-scale ranges associated with the employed conditions including concentration of silver salt, concentration of reducing saccharine, pH, and the mixing sequence. Since the synthetic system was designed to meet green chemistry protocols (i.e., using natural substances as the environmentally reducing agent, controlling the complete reduction of silver salt, reducing derivatives, generating no by-products, and performing all procedure under the atmospheric conditions), the production cost is very low and very economic competitive compared that using the conventional borohydride chemistry. The silver particles powders can be employed as raw materials in various industries, such as filler for nanocomposites, conductive silver ink in electronic industry, surface coating for antibacterial applications, and nanosilver clay in jewelry industry.en
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้ได้พัฒนาวิธีการสังเคราะห์ผงอนุภาคโลหะเงินแบบใหม่โดยกระบวนการรีดักชันทางเคมีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม กระบวนการนี้สามารถผลิตคอลลอยด์น้ำของอนุภาคระดับนาโนเมตรของโลหะเงินที่ความเข้มข้นสูง (50,000 – 100,000 ส่วนในล้านส่วน) และปริมาณมากได้ ผงอนุภาคโลหะเงินสารมารถแยกออกมาจากสารละลายตั้งต้นได้ง่ายด้วยวิธีการตกตะกอน กระบวนการสังเคราะห์ผงอนุภาคของโลหะเงินที่พัฒนาขึ้นสามารถควบคุมขนาดและการกระจายตัวของอนุภาคได้โดยการปรับเปลี่ยนเงื่อนไขของการทดลอง ได้แก่ ความเข้มข้นของเกลือโลหะเงินความเข้มข้นของสารละลายน้ำตาลทราย ค่าความเป็นกรด-ด่างของสารละลายและลำดับของการผสมสาร ผลการทดลองจากกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราดและการวัดขนาดอนุภาคโดยเทคนิคการกระเจิงแสงพบว่าผงอนุภาคของโลหะเงินที่สังเคราะห์ได้มีขนาดอยู่ในระดับนาโนเมตรถึงไมโครเมตรขึ้นกับเงื่อนไขของการทดลอง กระบวนการสังเคราะห์ที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับหลักการของกระบวนการทางเคมีที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ไม่ว่าจะเป็นการใช้รีดิวซิ่งเอเจนต์จากผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร กระบวนการผลิตที่ไม่ก่อให้เกิดของเสียและผลิตภัณฑ์ข้างเคียง และการทำปฏิกิริยาทั้งหมดภายใต้ความดันบรรยากาศและอุณหภูมิห้อง ทำให้กระบวนการที่พัฒนาขึ้นมีต้นทุนการผลิตที่ต่ำเมื่อเทียบกับกระบวนการดั้งเดิมคือโซเดียมโบโรไฮไดรด์ ผงอนุภาคโลหะเงินที่สังเคราะห์ได้สามารถนำไปใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมหลายประเภท เช่น ใช้เป็นสารเติมแต่งสำหรับทำนาโนคอมพอสิต หมึกนำไฟฟ้าในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ สารเคลือบผิวสำหรับป้องกันการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย และ นาโนซิลเวอร์เคลย์สำหรับอุตสาหกรรมเครื่องประดับen
dc.format.extent4348463 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenes
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1795-
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectSilver -- Synthesisen
dc.subjectClean technologyen
dc.subjectNanochemistryen
dc.titleSynthesis of silver nanopowders at high concentrations via green nanotechnologyen
dc.title.alternativeการสังเคราะห์ผงระดับนาโนเมตรของเงินที่ความเข้มข้นสูง ด้วยเทคโนโลยีนาโนที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมen
dc.typeThesises
dc.degree.nameMaster of Sciencees
dc.degree.levelMaster's Degreees
dc.degree.disciplineChemistryes
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorsanong.e@chula.ac.th-
dc.email.advisorchuchaat.t@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1795-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
anon_da.pdf4.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.