Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28998
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิมพ์รำไพ เปรมสมิทธ์-
dc.contributor.authorทรงพล หนูบ้านเกาะ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-02-20T08:46:17Z-
dc.date.available2013-02-20T08:46:17Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/28998-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยในด้าน การระบุความต้องการ การวางแผน การพัฒนา การจัดกิจกรรมการพัฒนา การประเมินผล และปัญหาในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยในด้านนโยบาย งบประมาณ บุคลากร และสิ่งอำนวย ความสะดวก โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารของห้องสมุดมหาวิทยาลัย ผลการศึกษาพบว่าห้องสมุดมหาวิทยาลัยส่วนใหญ่กำหนดนโยบายการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็นลายลักษณ์อักษร โดยห้องสมุดจำนวนมากที่สุด กำหนดนโยบายในเรื่องทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ศึกษาและรวบรวมข้อมูลจากการสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน วิเคราะห์ความต้องการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จากปัจจัยภายนอกที่มีผลกระทบต่อห้องสมุด กำหนดเนื้อหาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านงานบริการในแผนงานประจำปี ใช้รูปแบบการทำแผนพัฒนาเป็นทีม กิจกรรมพัฒนาทั้งภายในห้องสมุดและภายนอก ของห้องสมุดส่วนใหญ่ คือ การประชุม/สัมมนา และประเมินผลการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จากการปฏิบัติงานจริง รวมทั้งมีการนำผลไปใช้เพื่อการปรับปรุงการปฏิบัติงาน สำหรับปัญหาที่ห้องสมุดมหาวิทยาลัยประสบซึ่งมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ไม่สามารถจัดสรรงบประมาณสำหรับความต้องการของบุคลากรทุกคนen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were 1) to examine human resource development of university libraries, in terms of, need identification, development planning, development activity and evaluation; and 2) to explore problems concerning human resource development of university libraries regarding library policies, budgetary provisions, library staff and facilities. Questionnaires were distributed to the administrators of universitylibraries. The resultsindicate that most university libraries have the human resource development written-policy. The majority of libraries have development policy on information technology skills;gather data from behavioral observation; analyzethe need for development from external factors affecting the libraries; identify development content on library service in the annual plan; apply team development planning; use internal and external conference/ seminar for staff development activity; evaluate from actual operations; and utilize evaluation results for the improvement of library operations. The problem faced by the libraries having the highest mean score is unable to allocate budget to fulfill all staff members’ needs.en
dc.format.extent2737738 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.1588-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์en
dc.subjectการพัฒนาบุคลากรen
dc.subjectห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาen
dc.titleการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยen
dc.title.alternativeHuman resource development of university librariesen
dc.typeThesises
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorPimrumpai.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.1588-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
songpol_hu.pdf2.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.