Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31324
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาพรรณ โคตรจรัส-
dc.contributor.authorสิริกาญจน์ สง่า-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2013-05-25T09:52:18Z-
dc.date.available2013-05-25T09:52:18Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31324-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาแนวพุทธต่อความเข้มแข็งอดทนของนักศึกษาและเพื่อศึกษาประสบการณ์ทางจิตใจเกี่ยวกับความเข้มแข็งอดทนของนักศึกษากลุ่มทดลองด้วยข้อมูลเชิงปริมาณและข้อมูลเชิงคุณภาพ ซึ่งข้อมูลเชิงปริมาณได้จากการวิจัยกึ่งทดลองแบบมีกลุ่มควบคุม ทดสอบก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ที่มีคะแนนความเข้มแข็งอดทนต่ำกว่าค่าเฉลี่ย – 0.5SD จำนวน 26 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 2 กลุ่ม กลุ่มควบคุม 2 กลุ่ม มีสมาชิกกลุ่มละ 6-7 คน ระยะเวลาดำเนินกลุ่มประมาณกลุ่มๆละ 21 ชั่วโมง โดยแบ่งเป็น 6 ช่วง ช่วงละประมาณ 3-4 ชั่วโมง เป็นเวลาต่อเนื่องกัน 3 วัน โดยวัดความเข้มแข็งอดทน 3 ครั้ง ได้แก่ ก่อนทดลอง หลังทดลองและระยะติดตามผล 2 สัปดาห์ ด้วยแบบวัดความเข้มแข็งอดทน และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทางแบบวัดซ้ำ วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวแบบวัดซ้ำ สำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพได้จากการสัมภาษณ์สมาชิกกลุ่มทดลองที่มีความสมัครใจให้สัมภาษณ์ หลังการทดลอง จำนวน 5 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) หลังการเข้ากลุ่มและระยะติดตามผล 2 สัปดาห์ นักศึกษากลุ่มทดลองมีความเข้มแข็งอดทนสูงกว่าก่อนเข้ากลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และ .01 ตามลำดับ โดยความเข้มแข็งอดทนในระยะหลังเข้ากลุ่มและติดตามผลไม่แตกต่างกัน 2) หลังการเข้ากลุ่มและระยะติดตามผล 2 สัปดาห์ นักศึกษากลุ่มทดลองมีความเข้มแข็งอดทนสูงกว่านักศึกษากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 3) การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ พบว่า สมาชิกรับรู้ถึงประโยชน์จากการเข้าร่วมกลุ่ม กล่าวคือ ประสบการณ์จากการปฏิสัมพันธ์ทางบวก และสัมพันธภาพที่อบอุ่น ไว้วางใจ ของสมาชิก ส่งผลให้นักศึกษาเกิดความเข้าใจ เกิดการยอมรับ และตระหนักถึงคุณค่าในตนเองและผู้อื่น อีกทั้งยังส่งผลเนื่องโยงให้นักศึกษามีความมุ่งมั่น พยายาม ผูกมัดตนเอง มีความสามารถในการควบคุมตนเอง และยอมรับความท้าทายที่เกิดขึ้นในชีวิตเพิ่มขึ้น สัมพันธภาพที่มีความหมายที่เอื้อโดยผู้นำกลุ่มน่าจะเป็นปัจจัยเบื้องต้นที่นำไปสู่การพัฒนาความเข้มแข็งอดทนของสมาชิกในกลุ่มen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to study the effects of Buddhist personal growth and counseling group on hardiness of university students and to investigate psychological experiences concerning hardiness of the students who participated in the group, through quantitative and qualitative data. The quantitative data obtained through the quasi-experimental with pretest-posttest control group design. Twenty-six students from Nakhorn Ratchasima Rajabhat University whose scores below – 0.5SD on Personal View Survey were assigned to 2 experimental groups and 2 control groups each group comprising 6-7 participants. The experimental groups participated in Buddhist personal growth and counseling group for 6 sessions, a session of three to four hours, for 3 consecutive days, which made approximately 21 hours. During the pretest, posttest and 2-week follow-up study, all participants completed The Personal View Survey. A two-way ANOVA repeated measures, one-way ANOVA repeated measures and the t-test were used for data analysis. The qualitative data was obtained through the semi-structure interview with 5 participants from the experimental group, after the experiment. The major findings are as follows : 1. The posttest and 2-week follow-up scores on hardiness of the experimental group are significantly higher than its pretest scores (p<.001 and p<.01 consecutively). No differences on those scores are found between the posttest and follow-up data 2. The posttest and 2-week follow-up scores on hardiness of the experimental group are significantly higher than those scores of the control group (p<.001) 3. The Qualitative analysis of the data indicate that the group members perceive the beneficial effects of counseling. The positive interactions and warm and trusting relationships in the group. are experienced by the group members which contributing to their understanding, accepting, realizing the values of themselves and others and their issues and enable them to have more commitment, more self control and more acceptance of life challenges. These meaningful relationships facilitating by the group leader can be the initial factor enhancing the hardiness among the group members.en
dc.format.extent1944363 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.1104-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectนักศึกษา -- การให้คำปรึกษาen
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มen
dc.subjectขันติen
dc.titleผลของกลุ่มจิตวิทยาพัฒนาตนและการปรึกษาแนวพุทธต่อความเข้มแข็งอดทนของนักศึกษามหาวิทยาลัยen
dc.title.alternativeEffects of Buddhist personal growth and counseling group on hardiness of university studentsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการปรึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorSupapan.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.1104-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirikan_sa.pdf1.9 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.