Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31335
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติ ลิ่มสกุล-
dc.contributor.authorศิวาวุธ อินฟ้าแสง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-05-25T11:11:29Z-
dc.date.available2013-05-25T11:11:29Z-
dc.date.issued2551-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31335-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551en
dc.description.abstractวิเคราะห์ประสิทธิภาพของสถานศึกษา ในการบริหารจัดการทรัพยากรการศึกษาเพื่อการขยายโอกาสทางการศึกษา แก่ผู้เรียนด้อยโอกาส/ยากจนและผู้เรียนพิการ ให้เข้าถึงบริการทางการศึกษา โดยอาศัยแบบจำลอง Data Envelopment Analysis (DEA) ผลการศึกษาพบว่า มีสถานศึกษาเพียง 9.17% เท่านั้นที่นับได้ว่ามีประสิทธิภาพในการบริหารทรัพยากรฯ ทั้งนี้เนื่องจากสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโดยส่วนใหญ่ใช้ทรัพยากร อาทิ ห้องเรียนและบุคลากรทางการศึกษา รวมถึงค่าใช้จ่ายต่อหัวของผู้เรียนด้อยโอกาส/ยากจนและผู้เรียนพิการ เพื่อให้บริการการศึกษาอย่างด้อยประสิทธิภาพ อย่างไรก็ตาม ความมีประสิทธิภาพมิได้ขึ้นกับขนาดของสถานศึกษารวมถึงพื้นที่ที่สถานศึกษานั้นตั้งอยู่ การศึกษาพบว่า สถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพมีสัดส่วนของผู้เรียนด้อยโอกาส/ยากจนและผู้เรียนพิการต่อผู้เรียนทั้งสิ้น สูงกว่าสถานศึกษาที่ด้อยประสิทธิภาพ ในขณะที่ค่าใช้จ่ายต่อหัวของผู้เรียนด้อยโอกาสและผู้เรียนพิการ มีผลต่อความมีประสิทธิภาพของสถานศึกษาอย่างมีนัยสำคัญ และสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพมีค่าใช้จ่ายต่อหัวของผู้เรียนด้อยโอกาส/ยากจน และผู้เรียนพิการต่ำกว่าสถานศึกษาที่ด้อยประสิทธิภาพ นั่นคือ การเพิ่มประสิทธิภาพของสถานศึกษาทำได้โดยการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนด้อยโอกาสและผู้เรียนพิการในสถานศึกษา การศึกษานี้เสนอให้มีนโยบายการบริหารทรัพยากรทางการศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของสถานศึกษา เพื่อนำไปสู่การขยายโอกาสทางการศึกษาแก่ผู้เรียนด้อยโอกาสและผู้เรียนพิการเพิ่มขึ้นen
dc.description.abstractalternativeTo explore an efficiency of educational resource management to accrue an educational attainment of the disadvantages and the disabilities, by using the Data Envelopment Analysis (DEA). From the result, we found that only 9.17% of the total is efficient, while the rest still employ educational resource inefficiently i.e. classroom, instructors, including expenditure per the disadvantages and the disabilities. However, efficiency does not depend on school’s size or area which school is located. We also found that the efficient schools have more proportion of the disadvantages and the disabilities to all students, and also has less per-head expenditure than the inefficient. Per-head expenditure of the disadvantages and the disabilities significantly affects school’s efficiency. Increasing in the proportion of the disadvantages and the disabilities to all students in each school is the way to improve school’s efficiency, other thing being constant. Finally, we propose policies on educational resource management in order to increase school’s efficiency. So that it will lead to more educational attainment of the disadvantages and the disabilities.en
dc.format.extent1250115 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2008.2031-
dc.subjectการศึกษาพิเศษen
dc.subjectเด็กด้อยโอกาส -- การศึกษาen
dc.subjectเด็กพิการ -- การศึกษาen
dc.subjectการวิเคราะห์วางกรอบข้อมูลen
dc.titleประสิทธิภาพในการบริหารทรัพยากรการศึกษาเพื่อการขยายโอกาสทางการศึกษาแก่ผู้เรียนด้อยโอกาสและพิการen
dc.title.alternativeResource management efficiency for educational attainment of the special educational needsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorKitti.L@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2008.2031-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sivavudh_in.pdf1.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.