Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32388
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรัญ หาญสืบสาย-
dc.contributor.authorปรัชญา เคียงประคอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-06-21T14:59:35Z-
dc.date.available2013-06-21T14:59:35Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32388-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาวัฏจักรชีวิตการปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกในกระบวนการผลิตหนังสือและแนวทางการประเมินคาร์บอนฟุตพรินต์ของหนังสือนั้น ๆ จากโรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยกำหนดขอบเขตการพิจารณาตั้งแต่การได้มาซึ่งวัตถุดิบ กระบวนการผลิต การจัดส่งการจำหน่าย รวมถึงการกำจัดซาก (disposal) และการเวียนทำใหม่ (recycle) การจัดเก็บข้อมูลแบ่งออกเป็น ข้อมูลการใช้พลังงานและวัตถุดิบในการผลิต ซึ่งได้จากการสำรวจและวิเคราะห์ในโรงพิมพ์โดยตรง เช่น ปริมาณการใช้กระดาษ หมึกพิมพ์ แม่พิมพ์ น้ำยาเฟาว์เทน ประเภทของรถบรรทุก ระยะทางในการขนส่ง ปริมาณไฟฟ้าที่ใช้ในขั้นตอนต่าง ๆ ของกระบวนการผลิต การขนส่งหนังสือ การจัดจำหน่าย การเวียนใช้ใหม่ของเศษกระดาษ ฟิล์ม แม่พิมพ์และสารเคมีที่ใช้แล้ว การกำจัด ในขณะข้อมูลค่าสัมประสิทธิ์การปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า (CO₂e) ที่ได้มาจากฐานข้อมูลของห้องปฎิบัติการการประเมินวัฎจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์ ของหน่วยงาน MTEC และฐานข้อมูลจากประเทศญี่ปุ่น หาค่าปริมาณการปลดปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ด้วยการนำค่าการใช้พลังงานและวัตถุดิบในการผลิต คูณเข้ากับค่าสัมประสิทธิ์การปล่อยแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าในหน่วย กิโลกรัม ต่อ 1 หน่วยน้ำหนักของประเภทวัสดุ พลังงานหรือขั้นตอนนั้น ๆ ซึ่งผลรวมที่ได้จะเป็นค่าคาร์บอนฟุตพรินต์ในการผลิตหนังสือเล่มนั้น ๆen_US
dc.description.abstractalternativePrinting service LCCO2 (Life Cycle CO₂) and Carbon Footprint in Thailand was proposed. The aim was to measure and forecast the carbon footprint validity of printed text books in Thailand. We conducted the LCCO2 practice at Chulalongkorn University printing house. The system boundary included materials procurement and utilities, production, delivery, disposal and recycle. The primary data was surveyed and analyzed in the printing house, such as the usage amount of printing materials, truck size and distance to destination, electricity, delivery distance, recycled paper films chemicals and printing plates, and incineration, etc. Emission factor was carbon dioxide equivalent coefficients, reported in the database of Life Cycle Assessment (LCA) of Product Laboratory in Thailand (MTEC) and Japan. The LCCO2 calculation was done by multiplying the data obtained from book production in the printing house by the relevant coefficients of carbon dioxide equivalent. This led to the establishment of carbon footprint assessment of a printed text book.en_US
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1540-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการพิมพ์ออฟเซทen_US
dc.subjectคาร์บอนไดออกไซด์en_US
dc.subjectก๊าซเรือนกระจกen_US
dc.subjectOffset printingen_US
dc.subjectCarbon dioxideen_US
dc.subjectGreenhouse gasesen_US
dc.titleการประเมินคาร์บอนฟุตพรินต์ของการผลิตหนังสือด้วยการพิมพ์ออฟเซตป้อนแผ่นในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeCarbon footprint assessment of book production by sheet-fed offset printing in Thailanden_US
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีทางภาพes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorharan@sc.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1540-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pradya_kh.pdf3.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.