Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32616
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกอบชัย ภัทรกุลวณิชย์-
dc.contributor.advisorปาหนัน เริงสำราญ-
dc.contributor.authorปริยาภัทร แก้วภู่-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-02T02:57:36Z-
dc.date.available2013-07-02T02:57:36Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32616-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en_US
dc.description.abstractศึกษาความสามารถในการย่อยสลายสารประกอบ PAHs ของกลุ่มแบคทีเรีย STK ร่วมกับรา Agrocybe sp. CU-43 กลุ่มแบคทีเรีย STK สามารถย่อยสลายฟีแนนทรีนและไพรีนที่ความเข้มข้น 100 ppm ในอาหารเหลวได้หมดภายในระยะเวลา 7 และ 14 วัน ตามลำดับ ฟลูออรีนถูกย่อยสลายได้ดีจนเหลือเพียง 4.48% ภายใน 14 วัน ฟลูออแรนทีนไม่ถูกใช้โดย STK และคงเหลือ 94.33% รา Agrocybe sp. CU-43 สามารถย่อยสลายฟีแนนทรีน ฟลูออรีน ฟลูออแรนทีนและไพรีนจนเหลือ 23.45%, 28.85%, 69.10% และ 76.52% ตามลำดับในเวลา 14 วัน เมื่อทดสอบการย่อยสลายไพรีน ฟีแนนทรีน ฟลูออรีน และฟลูออแรนทีนในดินโดยใช้กลุ่มแบคทีเรีย STK ร่วมกับรา Agrocybe sp. CU-43 หรือกลุ่มแบคทีเรีย STK เพียงอย่างเดียวพบว่า ไพรีนและฟีแนนทรีนที่ความเข้มข้นชนิดละ 100 ppm ถูกย่อยสลายได้หมดในระยะเวลา 21 วัน ฟลูออรีนและฟลูออแรนทีนคงเหลือ 27.88% และ 17.67 % ตามลำดับ หลังการย่อยสลายเป็นเวลา 14 วัน โดยเมื่อเพิ่มความเข้มข้นสารประกอบ PAHs เป็นชนิดละ 200 ppm และ 400 ppm ในดิน พบว่าการใช้กลุ่มแบคทีเรียร่วมกับราจะสามารถย่อยสลาย PAHs ทุกชนิดได้จนเหลือน้อยกว่า 10% ภายใน 21 วัน ซึ่งเร็วกว่าการใช้แบคทีเรีย STK หรือรา Agrocybe sp. CU-43 เพียงอย่างเดียว งานวิจัยจึงแสดงให้เห็นว่าเมื่อใช้กลุ่มแบคทีเรีย STK ร่วมกับ รา Agrocybe sp. CU-43 จะสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการย่อยสลายสารประกอบ PAHs ในดินได้ดีขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeThe abilities of a bacterial consortium STK and a fungus Agrocybe sp. CU-43 to degrade PAHs were investigated. Consortium STK could completely remove 100 ppm phenanthrene as well as pyrene in liquid medium within 7 and 14 days, respectively. Fluorene could also be degraded down to 4.48% within 14 days. Fluoranthene was failed by STK with 94.33% remaining. Agrocybe sp. CU-43 was able to degrade phenanthrene, fluorene, fluoranthene, and pyrene to 23.45%, 28.85% 69.10% and 76.52%, respectively, in 14 days. In soil experiment, the coculture of Agrocybe sp. CU-43 and bacterial consortium STK was able to completely degrade 100 ppm pyrene and phenanthrene within 21 days. Fluorene and fluoranthene remained were 27.88% and 17.67% respectively after 14 days of incubation. When PAHs concentration in soil was raised to 200 ppm and 400 ppm, all PAHs were degraded to less than 10% in 21 days by the coculture more efficient than that of either STK or Agrocybe sp. CU-43 alone. These results suggested that the cocultivation of a fungal / bacterial strain may exert a positive effect on the PAHs degradation in soil.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.390-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการย่อยสลายทางชีวภาพen_US
dc.subjectโพลิไซคลิกอะโรมาติคไฮโดรคาร์บอน -- การย่อยสลายen_US
dc.subjectแบคทีเรียen_US
dc.subjectBiodegradation-
dc.subjectPolycyclic aromatic hydrocarbons-
dc.subjectBacteria-
dc.titleการย่อยสลายพอลิไซคลิกแอโรแมติกไฮโดรคาร์บอนในดินโดยกลุ่มแบคทีเรีย STK เจริญร่วมกับรา Agrocybe sp. CU-43en_US
dc.title.alternativeDegradtion of polycyclic aromatic hydrocarbons in soil by co-culture of bcterial consortium STK and Agrocybe sp. CU-43en_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorkobchai@sc.chula.ac.th-
dc.email.advisorPanan.R@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.390-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pariyapat_ka.pdf2.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.