Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32909
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัมพร ม้าคนอง-
dc.contributor.authorจำเริญ อนันตธรรมรส-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-08T07:49:59Z-
dc.date.available2013-07-08T07:49:59Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32909-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) ศึกษาความคิดทางเรขาคณิตของนักเรียนกลุ่มที่ได้รับการสอนโดยใช้โมเดลเฟสเมท็อด คอมบิเนชัน และกลุ่มที่ได้รับการสอนแบบปกติ 2) เปรียบเทียบความคิดทางเรขาคณิตของนักเรียนระหว่างกลุ่มที่ได้รับการสอนโดยใช้โมเดล เฟสเมท็อดคอมบิเนชัน และกลุ่มที่ได้รับการสอนแบบปกติ 3) เปรียบเทียบความสามารถในการเขียนพิสูจน์ของนักเรียนระหว่างกลุ่มที่ได้รับการสอนโดยใช้โมเดลเฟสเมท็อดคอมบิเนชันและกลุ่มที่ได้รับการสอนแบบปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2553 โรงเรียนวัดราชบพิธ จำนวน 80 คน เป็นนักเรียนกลุ่มทดลองจำนวน 40 คน และนักเรียนกลุ่มควบคุมจำนวน 40 คน โดยนักเรียนกลุ่มทดลองได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้โมเดลเฟสเมท็อดคอมบิเนชัน และนักเรียนกลุ่มควบคุมได้รับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์แบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบวัดความคิดทางเรขาคณิตที่มีค่าความเที่ยง 0.7586 และแบบวัดความสามารถในการเขียนพิสูจน์ การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1. นักเรียนกลุ่มที่ได้รับการสอนโดยใช้โมเดลเฟสเมท็อดคอมบิเนชันมีระดับความคิดทางเรขาคณิตเพิ่มขึ้น 2 ระดับเป็นจำนวนมากที่สุด 2. นักเรียนกลุ่มที่ได้รับการสอนโดยใช้โมเดลเฟสเมท็อดคอมบิเนชันมีระดับความคิดทางเรขาคณิตระดับ 3 กับ ระดับ 4 มากกว่านักเรียนกลุ่มที่ได้รับการสอนแบบปกติ 3. นักเรียนกลุ่มที่ได้รับการสอนโดยใช้โมเดลเฟสเมท็อดคอมบิเนชันมีความสามารถในการเขียนพิสูจน์สูงกว่านักเรียนกลุ่มที่ได้รับการสอนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were : 1) to study geometric thoughts of students between groups being taught by using phase-method combination model and by conventional approach 2) to compare geometric thoughts of students between groups being taught by using phase-method combination model and by conventional approach 3) to compare abilities in writing proof of students between groups being taught by using phase-method combination model and by conventional approach. The sample consisted of 80 ninth grade students in the 2010 academic year of Wat Rajabopit School. They were divided into two groups: an experimental group with 40 students and a control group with 40 students. Students in the experimental group were taught by using phase-method combination model in organizing mathematics learning activities and those in the control group were taught by conventional approach. The research instruments were the test of geometric thought levels with the reliability of 0.7586 and the ability test for writing proof. The data were analyzed by using frequency, arithmetic mean, standard deviation, and t-test . The results of the study revealed that : 1) After being taught by using phase-method combination model in organizing mathematics learning activities, most of students had two-level increase of geometric thoughts. 2) The number of students in the experimental group who had level three and level four of geometric thoughts after being taught by using phase-method combination model were more than that of students in conventional group. 3) The abilities in writing proof of the students in the experimental group after being taught by using phase-method combination model were higher than those of students in conventional group at the .05 level of significance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1315-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเรขาคณิต -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectเรขาคณิต -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- กิจกรรมการเรียนการสอนen_US
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectคณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา) -- กิจกรรมการเรียนการสอนen_US
dc.subjectทฤษฎีแห่งการพิสูจน์ -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectGeometry -- Study and teaching (Secondary)en_US
dc.subjectGeometry -- Study and teaching (Secondary) -- Activity programsen_US
dc.subjectMathematics -- Study and teaching (Secondary)en_US
dc.subjectMathematics -- Study and teaching (Secondary) -- Activity programsen_US
dc.subjectProof theory -- Study and teaching (Secondary)en_US
dc.titleผลของการใช้โมเดลเฟสเมท็อคคอมบิเนชันในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ที่มีต่อความคิดทางเรขาคณิตและความสามารถในการเขียนพิสูจน์ของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3en_US
dc.title.alternativeEffects of using phase-method combination model in organizing mathematics learning activities on geometric thought and ability in writing proofs of ninth grade studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษาคณิตศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorAumporn.M@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1315-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jamroen_an.pdf2.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.