Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33023
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชวลิต งามจรัสศรีวิชัย-
dc.contributor.authorชวลินทร์ หมุดสุวรรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-11T08:20:24Z-
dc.date.available2013-07-11T08:20:24Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33023-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาผลของความหนาแน่นตำแหน่งกรดต่อการเร่งเอสเทอริฟิเคชันของกรด ไดคาร์บอกซิลิกสองตัวคือกรดแอดิพิกและกรดอเซลาอิกกับ 2–เอทิล–1–เฮกซานอล และการเสื่อมสภาพของแอมเบอลิสต์เรซินและ ซีโอไลต์ จากการดัดแปรความหนาแน่นตำแหน่งกรดของ แอมเบอลิสต์15 (Amberlyst15) พบว่าเมื่อความเข้มข้นของสารละลายโซเดียมคลอไรด์และเวลาในการแลกเปลี่ยนไอออนเพิ่มขึ้นความหนาแน่นตำแหน่งกรดของแอมเบอลิสต์ 15 จะลดลง จากการศึกษาการเร่งเอสเทอริฟิเคชันพบว่า เมื่อความหนาแน่นตำแหน่งกรดเพิ่มอัตราเร็วในการเกิดปฏิกิริยาและผลได้ของเอสเทอร์ (ester yield) เพิ่มขึ้น โดยแอมเบอลิสต์15 ที่ความหนาแน่นตำแหน่งกรดเท่ากับ 3.5 มิลลิโมลต่อกรัมให้อัตราเร็วในการเกิดปฏิกิริยาและผลได้ของเอสเทอร์มากที่สุดกรณีกรดแอดิพิกเป็นสารตั้งและ ปฏิกิริยาของกรดแอเซลาอิกที่ความหนาแน่นตำแหน่งกรดเท่ากับ 4.7 มิลลิโมลต่อกรัมให้อัตราเร็วในการเกิดปฏิกิริยาและผลได้ของเอสเทอร์มากที่สุด อย่างไรก็ตามที่ความหนาแน่นตำแหน่งกรด 4.7 มิลลิโมลต่อกรัมทำให้ผลได้ของเอสเทอร์ลดลงซึ่งเกิดจากการไฮโดรไลสิส (hydrolysis) ของผลิตภัณฑ์เอสเทอร์โดยเนื่องจากตำแหน่งกรดที่เกินพอสำหรับเอสเทอริฟิเคชันจะดูดซับน้ำไว้ทำให้เกิดการผันกลับของปฏิกิริยา กรณีการใช้กรดแอเซลาอิกเป็นสารตั้งต้นซีโอไลต์ไม่สามารถส่งเสริมเอสเทอริฟิเคชันของกรดไดคาร์บอกซิลิกกับ 2– เอทิล–1–เฮกซานอล เนื่องจากรูพรุนของซีโอไลต์มีขนาดเล็กทำให้มีข้อจำกัดในการแพร่ของสารตั้งต้น นอกจากนี้พบว่าการเสื่อมสภาพของตัวเร่งปฏิกิริยาจากการดูดซับของสารอินทรีย์ขนาดใหญ่บนตำแหน่งกรดเกิดมากขึ้นเมื่อความหนาแน่นตำแหน่งกรดเพิ่มขึ้นen_US
dc.description.abstractalternativeIn this research, effects of acid site density on activity and deactivation of amberlyst resin and zeolite in esterification of dicarboxylic acids (adipic acid and azelaic acid) with 2–ethyl–1–hexanol have been investigated. The acid site density of Amberlyst 15 decreased with the increasing of exchanging time and NaCl concentration. It was found that diester yield and diester selectivity increased when the acid site density of the catalyst was increased. Amberlyst 15 with the acid site density of 3.49 and 4.7 mmol g-1 gave the highest initial rate and diester yield in esterification of adipic acid and azelaic acid, respectively. The ester hydrolysis, as reverse reaction, was increased due to the enhancement of acid site density. Study on effects of particle size of the catalyst indicated that the diffusion limitation was absent. Zeolite beta can not catalyze the esterification because of small pore size. Moreover the increasing of acid site density enhanced the deactivation of catalyst by strong adsorption of larger organic compound.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1323-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการหล่อลื่นและตัวหล่อลื่นen_US
dc.subjectเอสเทอร์en_US
dc.subjectซีโอไลต์en_US
dc.subjectเอสเทอริฟิเคชันen_US
dc.subjectLubrication and lubricantsen_US
dc.subjectEstersen_US
dc.subjectZeolitesen_US
dc.subjectEsterificationen_US
dc.titleผลของความหนาแน่นตำแหน่งกรดของแอมเบอลิสต์เรซินและซีโอไลต์ต่อเอสเทอริฟิเคชันของกรดไดคาร์บอกซิลิกกับ 2–เอทิล–1–เฮกซานอลen_US
dc.title.alternativeEffects of acid site density of amberlyst resin and zeolites on esterification of dicarboxylic acids with 2-ethyl-1-hexanolen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเทคโนโลยีเชื้อเพลิงen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorchawalit@sc.chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1323-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
chawalin_mu.pdf1.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.