Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33058
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร-
dc.contributor.authorปภัสสร ธนวิโรจน์กุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-13T07:59:17Z-
dc.date.available2013-07-13T07:59:17Z-
dc.date.issued2552-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33058-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552en_US
dc.description.abstractพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับบันทึกการพยาบาลผ่าตัด และศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับบันทึกการพยาบาลผ่าตัด โดยประเมินจากคุณภาพบันทึกการพยาบาลก่อนและหลังการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับบันทึกการพยาบาลผ่าตัด กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในห้องผ่าตัดศัลยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี จำนวน 41 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับบันทึกการพยาบาลผ่าตัด คู่มือการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับบันทึกการพยาบาลผ่าตัด และแบบสอบถามคุณภาพบันทึกการพยาบาล เครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ตรวจสอบความเที่ยงของแบบสอบถามโดยการคำนวณ ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคของแบบสอบถามเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพบันทึกการพยาบาลหลังการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับบันทึกการพยาบาลผ่าตัด สูงกว่าก่อนการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับบันทึกการพยาบาลผ่าตัด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001)en_US
dc.description.abstractalternativeTo develop the computerized perioperative nursing record program and evaluate the effectiveness of the computerized perioperative nursing record program to measure quality of nursing record. The research subjects consisted of 41 professional nurses working in surgery operative room of Ramathibodi Hospital. Research instruments were the computerized perioperative nursing record program, handbook of using computerized perioperative nursing record program and the quality of nursing record questionnaire. Content validity was reviewed by the panel experts. The reliability of quality of nursing record questionaire was computed using Cronbach’s alpha coefficient. Cronbach’s alpha coefficient of quality of nursing record questionaire was 0.95. Statistical techniques used in data analysis were percent,mean,standard deviation and paired-samples t-test. The major finding were as follows: After the implementation of the computerized perioperative nursing record program a significant increase of quality of nursing record (p < .001).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1075-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโรงพยาบาลรามาธิบดีen_US
dc.subjectการพยาบาลศัลยศาสตร์en_US
dc.subjectบันทึกการพยาบาลen_US
dc.subjectบันทึกการพยาบาล -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectRamathibodi Hospitalen_US
dc.subjectSurgical nursingen_US
dc.subjectNursing recordsen_US
dc.subjectNursing records -- Computer programsen_US
dc.titleประสิทธิผลของโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับบันทึกการพยาบาลผ่าตัดen_US
dc.title.alternativeThe effectiveness of computerized perioperative nursing record programen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorBoonjai.S@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2009.1075-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
papassorn_th.pdf11.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.