Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3417
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเลอสรวง เมฆสุต-
dc.contributor.authorปิยะพันธ์ จะกอ, 2522--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-02-15T02:34:34Z-
dc.date.available2007-02-15T02:34:34Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741769261-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3417-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractในงานวิจัยนี้ศึกษาการเผาไหม้ร่วมระหว่างแกลบและถ่านหิน จึงได้มีการสร้างเตาฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียนที่มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของท่อไรเซอร์ 0.1 เมตร สูง 3.0 เมตรสำหรับการเผาไหม้ดังกล่าว โดยศึกษาถึงสัดส่วนที่เหมาะสมของแกลบและถ่านหินที่จะผสมกัน (ร้อยละ 0, 7.02, 13.11 และ 23.19 โดยน้ำหนัก) สำหรับเผาไหม้ นอกจากนี้ยังมีการผสมหินปูน (สัดส่วน Ca/S เท่ากับ 0, 0.5, 1, 2 และ 3) เพื่อกำจัดแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ และผลกระทบจากสัดส่วนแกลบที่ผสมกับถ่านหินและปริมาณหินปูนที่ผสมลงไปต่อองค์ประกอบของฟลูแก๊สได้แก่ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ แก๊สไนโตรเจนออกไซด์ (ไนตริกออกไซด์และไนโตรเจนไดออกไซต์) แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ แก๊สคาร์บอนมอนนอกไซด์ และแก๊สออกซิเจน รวมทั้งทำการวัดอุณหภูมิ ณ ตำแหน่งต่าง ๆ ในท่อไรเซอร์ จากการทดลองนี้พบว่าสัดส่วนของแกลบที่สามารถผสมได้มากที่สุดคือร้อยละ 13.11 โดยน้ำหนัก และการผสมแกลบมากขึ้นจะทำให้แก๊สออกซิเจนและแก๊สไนโตรเจนออกไซด์เพิ่มขึ้น ส่วนแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์และแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ลดลง และทำให้อุณหภูมิส่วนล่างของท่อไรเซอร์สูงขึ้น ส่วนการเติมหินปูนสามารถลดแก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ได้ถึงร้อยละ 80.08 โดยมีสัดส่วนของ Ca/S เท่ากับ 3 และสามารถลดแก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ลงได้เช่นกัน อย่างไรก็ตามการเติมหินปูนก็ทำให้แก๊สไนโตรเจนออกไซด์เพิ่มขึ้นen
dc.description.abstractalternativeIn this research, rice husk was co-firing with coal. Circulating fluidized bed of 0.1 m diameter and 3 m height was built for the combustion. The combustion experiments were carried out with various rice husk ratio (0, 7.02, 13.11, 23.19 %). Moreover, limestone (Ca/S = 0, 0.5, 1, 2, 3 molar ratio) was mixed with coal and rice husk to reduce SO[subscript 2] emission. The effect of rice husk ratio and limestone on flue gas composition (CO[subscript 2], CO, O[subscript 2], NO, NO[subscript 2], SO[subscript 2]) was investigated. Temperature distribution along the riser was also measured. The preliminary results show that the maximum amount of rice husk that can be used was 13.11 %. The emission of NO, NO[subscript 2], and O[subscript 2] increased with increasing rice husk ratio, but CO and SO[subscript 2] show the reverse trend. The temperature at the bottom of the riser also increased when increasing rice husk ratio. About 80.08 % of sulfur was removed by adding limestone at a Ca/S ratio of 3. Carbon monoxideemission was decreased with increasing limestone. However, the addition of limestone increased the emission of NO[subscript X].en
dc.format.extent2371666 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเผาไหม้en
dc.subjectแกลบen
dc.subjectถ่านหินen
dc.subjectฟลูอิเไดเซชันen
dc.titleการควบคุมการปล่อยแก๊สของการเผาไหม้ถ่านหินและชีวมวลในฟลูอิไดซ์เบดแบบหมุนเวียนen
dc.title.alternativeEmission control of coal and biomass combustion in circulating fluidized beden
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineเคมีเทคนิคen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorlursuang.M@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Piyaphan.pdf1.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.