Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35865
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพรประพิตร์ เผ่าสวัสดิ์-
dc.contributor.authorกิตติภัณฑ์ ชิตเทพ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-09-10T02:31:51Z-
dc.date.available2013-09-10T02:31:51Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/35865-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิเคราะห์เพลงนางหงส์ กรณีศึกษา รองศาสตราจารย์พิชิต ชัยเสรี เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาโครงสร้าง รูปแบบและสำนวนเพลงของบทเพลงนางหงส์โดยมีขอบเขตของการศึกษาเฉพาะเพลงเรื่องนางหงส์ อัตราจังหวะสองชั้น อันเป็นของเดิม รวมถึงเพลงนางหงส์ เรื่องแสนสุดสวาท และเพลงนางหงส์ เรื่องเทพนิมิตที่ผูกขึ้นใหม่โดยรองศาสตราจารย์พิชิต ชัยเสรี ศิษย์สำนักพระยาเสนาะดุริยางค์ จากการศึกษาพบว่าบทเพลงต่างๆ ในเพลงเรื่องนางหงส์ อัตราจังหวะสองชั้น ของเดิมมีความสัมพันธ์กันทั้งด้านบันไดเสียงและลูกตก โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำนวนเพลงพบว่ามีการใช้สำนวนเพลงที่ซ้ำกัน เป็นรูปแบบของการใช้มือฆ้องที่เป็นแบบแผน มีลักษณะเฉพาะเหมาะสมกับการใช้หน้าทับนางหงส์ซึ่งเป็นหน้าทับเฉพาะใช้กำกับบทเพลงประเภทนี้เท่านั้น ให้ความรู้สึกวังเวง สะเทือนใจ แต่แสดงถึงภาวะสงบ นิ่ง ให้ใคร่ครวญพิจารณาในองค์ธรรมซึ่งเหมาะกับการใช้บรรเลงในงานศพ เพลงนางหงส์ เรื่องแสนสุดสวาท ประกอบไปด้วยเพลงแสนสุดสวาท สามชั้น เพลงเร็วปลาย สร้อยสน เพลงเร็วแขกต่อยหม้อ เพลงจีนท้ายโป๊ยกังเหล็ง เพลงนางหงส์ เรื่องเทพนิมิต ประกอบไปด้วยเพลงเทพนิมิต สามชั้น เพลงเร็วแขกมัดตีนหมู เพลงเร็วลูกวอนแม่ และเพลงจีนไหว้เจ้า เป็นเพลงนางหงส์ที่รองศาสตราจารย์พิชิต ชัยเสรี เรียงร้อยขึ้นใหม่โดยยึดหลักแนวคิดตามโบราณ รูปแบบการเรียงร้อยเพลงนางหงส์ตั้งต้นด้วยบทเพลงอัตราจังหวะสามชั้นหน้าทับปรบไก่ มีสำนวนลูกล้อลูกขัด มีความยาวพอเหมาะไม่สั้นหรือยาวจนเกินไป ตามด้วยเพลงเร็ว จำนวน ๒ เพลงขึ้นไป และเพลงเบ็ดเตล็ดที่เป็นสำเนียงภาษาจบด้วย ลูกหมด บทเพลงที่เรียงร้อยต่อกันนั้น มีการใช้สัมผัสเสียง บันไดเสียงที่พบเป็นบันไดเสียงทางเพียงออบน ทางชวาและทางเพียงออล่าง เพลงเร็วใช้มือฆ้องที่ซับซ้อนเพื่อแสดงฝีมือของ ผู้บรรเลง จากองค์ประกอบดังที่กล่าวมา ทำให้การบรรเลงเพลงนางหงส์ในลักษณะเช่นนี้ให้ความรู้สึกกระฉับกระเฉงต่างจากเพลงเรื่องนางหงส์สองชั้นen_US
dc.description.abstractalternativeThe research is entitled Phleng Nang Hong case study of Associate Professor Pichit Chaisaree. It employs a qualitative method in order to study music structure and melodic patterns of Phleng Nang Hong repertoire. The scope of this study focuses on Phleng Nang Hong Song Chan, the original version, including Phleng Nang Hong Ruang San Sudsawad, and Phleng Nang Hong Raung Thep Nimit that were recently complied by Associate Professor Pichit Chaisaree. The study reveals that the compilation of every piece in the Phleng Raung Nang Hong suite was tied in with and unified by the consistent use of certain pentacentric arrangements and the pivotal pitches (loog tok). The Phleng Nang Hong repertoire consists of characteristic passages using repetitive motives. These passages are in traditional meu khong format. They are also in mood of grieving and lonesome, but expressing a peaceful state of mind, which induces an audience to submit to a mindful and epistemological consideration of the Body of Dharma disciplines. Phleng Nang Hong Raung San Sudsawad consists of Pleng San Sudsawad Sam Chan, Phleng Raew Plai Soi Son, Phleng Raew Khak Toi Moh, and Phleng Chine Thai Poy Kangleng. Phleng Nang Hong Ruang Thepnimit consists of Phleng Thep Nimit Sam Chan, Phleng Raew Khak Mad Thin Moo, Phleng Raew Loog Won Mae, Phleng Chine Wai Chao. These two Nang Hong suites are put together by Associate Professor Pichit Chaisaree, a traditional music master from the school of Phraya Sanoh Duriyang. The suites are unified following a traditional way of compiling Phleng Nang Hong repertoire. The suite begins with a piece in sam chan belonging to a prob kai rhythmic pattern. This beginning piece is required to contain question-answer passages and the duration of the whole piece should not be exceedingly long in length. The piece is then followed by at least two phleng raew and the ending piece chosen from the category of miscellaneous repertory (phleng betalet) and the ending piece. The passages within the suites is rhymed in which materials stated in the previous passages were taken to generate new motives in various styles. The pentacentric mode of pieng or bon, chawa, and piang or lang are used. Phleng Raew shows the amount of variability and complexity. These are the reasons why this type of Nang Hong repertoire is in a joyous mood, which is differentiates itself from the Phleng Nang Hong Song Chan.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1477-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพิชิต ชัยเสรี -- การวิจารณ์และการตีความen_US
dc.subjectเพลงนางหงส์en_US
dc.subjectการวิเคราะห์ทางดนตรีen_US
dc.subjectPichit Chaisaree -- Criticism and interpretationen_US
dc.subjectPhleng Nang Hongen_US
dc.subjectMusical analysisen_US
dc.titleวิเคราะห์เพลงนางหงส์ : กรณีศึกษา รองศาสตราจารย์พิชิต ชัยเสรีen_US
dc.title.alternativeA musical analysis of Phleng Nang Hong : case study of Associate Professor Pichit Chaisareeen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineดุริยางค์ไทยen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPornprapit.P@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1477-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kittipan_ch.pdf2.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.